Page 54 - dcp1

Basic HTML Version

45
ชั
กเย่
อเกวี
ยนพระบาท
เรี
ยบเรี
ยงโดย รองศาสตราจารย์
ชั
ชชั
ย โกมารทั
จุ
ดกำ
�เนิ
ดและประวั
ติ
ชั
กเย่
อเกวี
ยน เป็
นการเล่
นอี
กรู
ปแบบหนึ่
งของกี
ฬาชั
กเย่
อในประเทศไทยที่
มี
ลั
กษณะเฉพาะตั
ว เป็
นเอกลั
กษณ์
โดดเด่
นไม่
เหมื
อนใคร โดยการนำ
�เชื
อกมาผู
กติ
ดกั
บเกวี
ยนทั้
งด้
านหน้
าและด้
านหลั
งเกวี
ยนจากนั้
น ชาวบ้
านจะแบ่
งเป็
นสองฝ่
าย
ฝ่
ายหนึ่
งจะจั
บเชื
อกอยู่
ด้
านหน้
าเกวี
ยน ส่
วนอี
กฝ่
ายจะจั
บเชื
อกอยู่
ด้
านหลั
งเกวี
ยน ทั้
งสองฝ่
ายจะออกแรงดึ
งให้
เกวี
ยนเคลื่
อน
ไปทางฝ่
ายตน ฝ่
ายใดออกแรงดึ
งให้
เกวี
ยนเคลื่
อนผ่
านเส้
นแดนที่
กำ
�หนดไว้
ในฝ่
ายตนได้
ก็
จะเป็
นฝ่
ายชนะ ชั
กเย่
อเกวี
ยนมี
พั
ฒนาการมาจากพิ
ธี
กรรมทางศาสนาพุ
ทธซึ่
งมี
ประเพณี
แห่
พระพุ
ทธรู
ปที่
ประดิ
ษฐานไว้
บนเกวี
ยนที่
ตกแต่
งประดั
บอย่
าง
สวยงาม แล้
วใช้
เชื
อกยาวๆ หรื
อท่
อนไม้
ยาวๆ ผู
กกั
บตั
วเกวี
ยน ให้
ผู้
คนจำ
�นวนมากจั
บเชื
อกหรื
อท่
อนไม้
รวมพลั
งกั
นลากเกวี
ยน
ที่
มี
องค์
พระพุ
ทธรู
ปเคลื่
อนที่
ไปรอบเมื
อง เพื่
อเปิ
ดโอกาสให้
ผู้
คนสั
กการะได้
ทั่
วถึ
งที่
เรี
ยกว่
า “ประเพณี
ชั
กพระ” สั
นนิ
ษฐาน
ว่
ามี
การเล่
นชั
กเย่
อเกวี
ยนกั
นแล้
วในสมั
ยกรุ
งสุ
โขทั
ย ราว พ.ศ. ๑๗๐๐ (ชั
ชชั
ย โกมารทั
ต, ๒๕๒๕) เนื่
องจากปรากฏ
หลั
กฐานชั
ดเจนว่
ามี
งานประเพณี
ต่
างๆ ที่
เกี่
ยวข้
องกั
บพุ
ทธศาสนาอยู่
มากมายแล้
วในสมั
ยนั้
น ชั
กเย่
อเกวี
ยน มี
ชื่
อเรี
ยกกั
นใน
ท้
องถิ่
นหลายชื่
อ เช่
น ชั
กเย่
อเกวี
ยนพระบาท และ ชั
กเย่
อพระบาท เป็
นต้
น คำ
�ว่
า “ชั
กเย่
อ” หมายถึ
งการชั
ก การดึ
ง และ
การออกแรงเย่
อกั
นดึ
งกั
น คำ
�ว่
า “เกวี
ยน” หมายถึ
ง ยานพาหนะที่
ใช้
ในสมั
ยโบราณ มี
ล้
อ ๒ ล้
อ และใช้
ควายหรื
อวั
วเที
ยม
ลากให้
ตั
วเกวี
ยนเคลื่
อนที่
ไป ส่
วนคำ
�ว่
า “พระบาท” เป็
นคำ
�ราชาศั
พท์
ที่
ใช้
กั
บพระมหากษั
ตรย์
หรื
อ พระพุ
ทธเจ้
า หมายถึ
“เท้
า” ในที่
นี้
หมายถึ
ง รอยเท้
าของพระพุ
ทธเจ้
า ดั
งนั้
น คำ
�ว่
า “ชั
กเย่
อเกวี
ยน” จึ
งเป็
นการเล่
นชั
กเย่
อโดยมี
เกวี
ยนอยู่
ตรงกลาง เป็
นเป้
าหมายที่
ผู้
เล่
นแต่
ละฝ่
ายจะต้
องพยายามออกแรงดึ
งให้
เข้
าไปยั
งแดนตน ส่
วนชั
กเย่
อเกวี
ยนพระบาท เป็
นการ
เล่
นชั
กดึ
งเกวี
ยนซึ่
งบรรทุ
กพั
บผ้
าที่
มี
รอยพระบาทจำ
�ลองของพระพุ
ทธเจ้
า เปรี
ยบดั
งการเล่
นเพื่
อยื้
อแย่
งสิ่
งศั
กดิ์
สิ
ทธิ์
คื
รอยพระบาทของพระพุ
ทธเจ้
านั่
นเอง นิ
ยมเล่
นกั
นในแถบตะวั
นออกของประเทศไทย โดยเฉพาะที
จั
งหวั
ดจั
นทบุ
รี
มี
ท้
องที่
ที่
เล่
นชั
กเย่
อเกวี
ยน และปฏิ
บั
ติ
สื
บทอดเป็
นประเพณี
ต่
อเนื่
องยาวนานกว่
า ๑๐๐ปี
และยั
งคงมี
การอนุ
รั
กษ์
ส่
งเสริ
การเล่
นจนถึ
งปั
จจุ
บั
น ได้
แก่
ที่
ตำ
�บลตะปอน และที่
ตำ
�บลเกวี
ยนหั
ก อำ
�เภอขลุ
ง ในการสื
บค้
นเบื
องต้
น พบว่
า ที่
ตำ
�บล
ตะปอนมี
การสื
บทอดประเพณี
ชั
กเย่
อเกวี
ยนที่
เรี
ยกกั
นในท้
องถิ่
นว่
า “ชั
กเย่
อเกวี
ยนพระบาท” มายาวนานกว่
าที่
อื่
นๆ
ชั
กเย่
อเกวี
ยนพระบาท ของชาวตำ
�บลตะปอน อำ
�เภอขลุ
ง จั
งหวั
ดจั
นทบุ
รี
เป็
นการเล่
นที่
กระทำ
�ควบคู่
กั
บประเพณี
ชั
กพระบาท หรื
อเรี
ยกสั้
นๆ ว่
า ประเพณี
ชั
กพระซึ
งเป็
นประเพณี
สำ
�คั
ญของภาคใต้
ที่
ทำ
�กั
นในวั
นแรม ๑ คํ่
า เดื
อน ๑๑ ประเพณี
ชั
กพระของชาวตะปอน จั
งหวั
ดจั
นทบุ
รี
จะคล้
ายคลึ
งกั
บประเพณี
ชั
กพระทางภาคใต้
แต่
ลั
กษณะของการประกอบพิ
ธี
กรรม
อาจมี
ความแตกต่
างกั
นน่
าจะมาจากการปรั
บเปลี่
ยนให้
เหมาะสมและสอดคล้
องกั
บสภาพภู
มิ
ประเทศ สภาพความเป็
นอยู่
และวิ
ถี
ชี
วิ
ต กล่
าวคื
อ ทางภาคใต้
ของประเทศไทยมี
ลั
กษณะภู
มิ
ประเทศที่
ติ
ดกั
บทะเล ประชาชนประกอบอาชี
พทำ
�การ
ประมง จึ
งใช้
เรื
อเป็
นพาหนะในการเดิ
นทาง ใช้
ในการประกอบอาชี
พ และใช้
ในการประกอบพิ
ธี
กรรมที่
สำ
�คั
ญต่
างๆ