Page 92 - บูรพศิลปิน58

Basic HTML Version

77
บู
รพศิ
ลปิ
น พ.ศ. ๒๕๕๘
พระมหามนตรี
(ทรั
พย์
)
เกิ
ราวต้
นรั
ชกาลที่
ถึ
งแก่
กรรม
ก่
อน พ.ศ. ๒๓๘๘
ยุ
คสมั
รั
ตนโกสิ
นทร์
(รั
ชกาลที่
๑ - รั
ชกาลที่
๔)
ประวั
ติ
และการทำ
�งาน
ต้
นตระกู
ลของพระมหามนตรี
(ทรั
พย์
) เป็
นญวน มี
บรรดาศั
กดิ์
เป็
นพระยาภั
กดี
นุ
ชิ
ต (องว่
างถ่
าย หรื
อ องเถิ่
ง)
พระมหามนตรี
(ทรั
พย์
) เกิ
ดราวต้
นรั
ชกาลที่
๑ เป็
นบุ
ตรของท่
านน่
วมและท่
านจั่
น พระมหามนตรี
(ทรั
พย์
) มี
บุ
ตรชื่
กลั่
น ซึ่
งเป็
นบิ
ดาของหม่
อมเฉื่
อยในสมเด็
จฯ กรมพระยาดำ
�รงราชานุ
ภาพ เข้
าใจว่
าพระมหามนตรี
(ทรั
พย์
) ได้
รั
บราชการ
สนองพระเดชพระคุ
ณในรั
ชกาลที่
๓ เป็
นที่
ไว้
วางพระราชหฤทั
ยเป็
นอั
นมาก ดั
งความปรากฏในพระราชปุ
จฉารั
ชกาลที่
๓ เมื่
อจุ
ลศั
กราช ๑๒๐๗ (พ.ศ. ๒๓๘๘) ว่
“แต่
ข้
าทู
ลละอองธุ
ลี
พระบาทที่
มี
สติ
ปั
ญญาควรที่
จะวางพระทั
ยได้
ราชการ
เหมื
อนอย่
างพระมหามนตรี
(ทรั
พย์
) ฯลฯ ซึ่
งทรงพระกรุ
ณาโปรดชุ
บเลี้
ยงไว้
ตามยศถาศั
กดิ์
โดยขนาด ก็
มิ
ได้
อยู่
สนอง
พระเดชพระคุ
ณ ด่
วนถวายบั
งคมลาดั
บสู
ญไป ก็
มี
พระอาลั
ยอยู่
ด้
วยทรงพระเมตตา”
จึ
งประมาณได้
ว่
าพระมหามนตรี
(ทรั
พย์
) ถึ
งแก่
กรรม ก่
อน พ.ศ. ๒๓๘๘
ผลงานสำ
�คั
พระมหามนตรี
(ทรั
พย์
) เป็
นกวี
ที่
สามารถในกระบวนแต่
งกลอนแปด จะหาตั
วเปรี
ยบได้
โดยยาก แต่
มามี
ชื่
เสี
ยงโด่
งดั
งในการแต่
งกลอนต่
อเมื่
อถึ
งแก่
กรรมแล้
ว เพราะเมื่
อมี
ชี
วิ
ตอยู่
ไม่
ใคร่
พอใจแต่
งโดยเปิ
ดเผย มี
เพี
ยงโคลงฤๅษี
ดั
ดตน แก้
เส้
นมหาระงั
บ บท ๑ กั
บเพลงยาวกลบท ชื่
อกบเต้
นสามตอน บท ๑ เท่
านั้
น ที่
แต่
งจารึ
กไว้
ที่
วั
ดพระเชตุ
พนฯ
ผลงานที่
มี
ชื่
อเสี
ยงมาก ได้
แก่
บทละครเรื่
อง ระเด่
นลั
นได เขี
ยนราวรั
ชกาลที่
๓ จั
ดเป็
นหนั
งสื
อกลอนที่
แต่
งอย่
างตลกขบขั
นเล่
มแรก
ของเมื
องไทย เป็
นเรื่
องที่
สนุ
กทั้
งเนื้
อเรื่
องและสำ
�นวนกลอน ทั้
งกระบวนบทสุ
ภาพ และวิ
ธี
เอาถ้
อยคำ
ขบขั
นเข้
าสอดแซม บางแห่
งกล้
าใช้
สำ
�นวนตํ่
าช้
าลงไปให้
สมกั
บตั
วบท แต่
อ่
านก็
ไม่
มี
ที่
จะเขิ
นเคอะในแห่
ใด เพราะฉะนั้
นจึ
งเป็
นหนั
งสื
อซึ่
งชอบอ่
านกั
นแพร่
หลาย ตั้
งแต่
แรกแต่
งตลอดมาจนรั
ชกาลหลั
งๆ นั
บถื
กั
นว่
าเป็
นหนั
งสื
อกลอนชั้
นเอกเรื่
อง ๑
เหตุ
ที่
พระมหามนตรี
(ทรั
พย์
) แต่
งบทละครนี้
เล่
ากั
นมาว่
าครั้
งนั้
นมี
แขกคนหนึ่
งชื่
อลั
นได เป็
นแขกฮิ
นดู
ชาว
อิ
นเดี
ย ซั
ดเซพเนจรมาอาศั
ยอยู่
ที่
ใกล้
โบสถ์
พราหมณ์
ในกรุ
งเทพฯ เที่
ยวสี
ซอขอทานหาเลี้
ยงชี
พเป็
นนิ
จ พู
ดภาษาไทย
ก็
มิ
ใคร่
ได้
หั
ดร้
องเพลงขอทานได้
เพี
ยงว่
“สุ
วรรณหงส์
ถู
กหอกอย่
าบอกใคร บอกใครก็
บอกใคร”
ร้
องทวนอยู่
แต่
เท่
านี้
แขกลั
นไดเที่
ยวขอทาน จนคนรู้
จั
กกั
นโดยมาก ในครั้
งนั้
นมี
แขกอี
กคน ๑ เรี
ยกกั
นว่
า แขกประดู่
เป็
นชาวอิ
นเดี
ยเหมื
อน
กั
น ตั้
งคอกเลี้
ยงวั
วนมอยู่
ที่
หั
วป้
อม (สนามหน้
าศาลสถิ
ตยุ
ติ
ธรรม) มี
ภรรยาเป็
นหญิ
งแขกมลายู
ชื่
อประแดะ อยู่
มาแขก
ลั
นไดกั
บแขกประดู่
เกิ
ดวิ
วาทกั
นด้
วยเรื่
องแย่
งหญิ
งมลายู
นั้
น โดยทำ
�นองที่
กล่
าวในเรื่
องละคร คนทั้
งหลายเห็
นเป็
นเรื่
อง
ขบขั
นก็
โจษกั
นแพร่
หลาย พระมหามนตรี
(ทรั
พย์
) ทราบเรื่
องจึ
งคิ
ดแต่
งเป็
นบทละครขึ้
๒๓
สมั
ยรั
ตนโกสิ
นทร์