Previous Page  74 / 84 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 74 / 84 Next Page
Page Background

บันทึก นํ้าใจไมตรีที่สนามหลวง

74

ต่อจากนั้น การสอนทำ�ดอกไม้จันทน์ของกลุ่มนํ้าใจไมตรี ที่สนามหลวงได้พัฒนาต่อไป

โดยเปลี่ยนวัสดุเป็นเปลือกข้าวโพด เพื่อให้รายได้ที่อาจเกิดขึ้นไปตกกับชาวไร่ข้าวโพด แทนที่จะไปให้

โรงงานกระดาษ และเปลี่ยนแบบดอกไม้ เป็น

ดอกแดฟโฟดิล

ซึ่งตั้งชื่อภาษาไทยว่า

“ดอกดารารัตน์”

เพื่อจะได้ไม่ไปแย่งตลาด ไม่แย่งรายได้กับ ผู้ที่ทำ�ดอกไม้จันทน์กระดาษ แบบกุหลาบโบราณอยู่ก่อน

ต่อจากนั้น กา รสอนทำ �

ดอกไม้จันทน์ของศูนย์นํ้าใจไมตรี ก็ได้

ขยายตัวไปเปิดสอนตามศูนย์การค้า

และหน่วยราชการต่างๆ ทั่วประเทศ

โดยมีการพัฒนาวัสดุแบบต่างๆ เช่น

เยื่อใบยางพารา ใบไผ่หวาน ใบตอง

ไม้โมกมัน และไม้จันทน์หอม

สำ�หรับดอกไม้จันทน์ที่ทำ�

จากเนื้อไม้โมกมัน และไม้จันทน์หอม

นั้น ได้เตรียมจัดทำ�จำ�นวนจำ�กัด

สำ�หรับมอบให้บุคคลสำ�คัญและผู้มี

อุปการคุณต่อศูนย์นํ้าใจไมตรี จำ�นวน

๑,๐๐๐ ช่อเท่านั้น โดยใช้เนื้อไม้จริง

มาไสฝานให้บางแล้วประดิษฐ์เป็น

ดอกไม้จันทน์ ตามวิธีที่เคยทำ�กันมา

ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๕ แต่ปัจจุบันนี้

ไม่ใคร่มีใครทำ�แล้วเพราะเป็นไม้

หวงห้าม และหายาก