Page 86 - กัมมัฏฐานโบราณล้านนา
P. 86

๗๑

         หมวดที่ ๕ อาหาเรปฏิกลู สัญญา
         กัมมัฏฐาน ๔๐ หมวดท่ี ๕ คือ อาหาเรปฏิกูลสัญญา หมายถึง ความหมายรู้ในอาหารว่า
เป็นส่ิงน่าเกลยี ด๑
         พระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร)๒ อธิบายวิธีพิจารณาอาหารที่บริโภคเข้าไปให้เกิด
ความรู้สึกโดยความเป็นของนา่ เกลยี ดดว้ ยให้เกดิ ปฏกิ ูลสัญญา จนกระทงั่ ไดป้ ริญญา ๓ คือ
         ๑. ความเป็นทุกข์ยากลลาบากนานาประการในการบรโิ ภค ซง่ึ เรยี กวา่ ญาตปรญิ ญา
         ๒. เห็นความเกิดดับของอาหารท่ีบริโภคเข้าไป ความเกิดดับของรูปภายในตนท่ีเกิดจาก
อาหาร เพราะความเกดิ ดับของจิตในขณะท่ีบรโิ ภคและหลงั จากบริโภคแล้ว ซ่ึงเรียกว่า ตีรณปริญญา
         ๓. เม่ือเห็นความยากลาบากท่ีเกิดข้ึนเพราะอาหาร ตามพระพุทธฎีกาที่ทรงแสดงไว้ใน
สตุ ตนบิ าต วา่ “ย กญิ จฺ ิ ทุกขฺ สมโภติ สพฺพ อาหารปจฺจยา อาหาราน นิโรเธน นตฺถ ทุกฺขสสฺ สมฺภโว”
แปลวา่ ทุกขใ์ ดๆ ทเี่ กิดขึน้ ทุกขเ์ หล่าน้นั ท้ังหมด ย่อมมีอาหารช่วยอุดหนุนให้เกิดเสมอ ดังน้ัน ถ้าหาก
อาหารดับลงเม่ือใด ความเกดิ ข้ึนแหง่ ทกุ ข์กไ็ มม่ เี มื่อน้นั
         คุณของอาหาเรปฏิกูลสัญญามีมาก ดังท่ีปรากฏในพระสุตตันตปิฏกว่า “...ดูก่อนภิกษุ
ทั้งหลาย อาหาเรปฏิกูลสัญญาอันภิกษุเจริญแล้ว กระทาให้มากแล้ว ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก
หยัง่ ลงสอู่ มตะ มีอมตะเป็นทสี่ ดุ
         เรากลา่ วแลว้ เพราะอาศยั อะไร
         ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย เม่ือภิกษุมีใจอันอบรมแล้วด้วยอาหาเรปฏิกูลสัญญาอยู่โดยมาก จิต
ย่อมหวลกลับ งอกลับ ถอยกลับจากตัณหาในรส ไม่ยื่นไปรับตัณหาในรส อุเบกขาหรือความเป็นของ
ปฏิกูลย่อมต้ังอยู่ เปรียบเหมือนขนไก่หรือเส้นเอ็นท่ีเขาใส่ลงในไฟ ย่อมหดงอเข้าหากันไม่คล่ีออก
ฉะน้นั ดูก่อนภกิ ษุทั้งหลาย ถา้ เม่ือภกิ ษมุ ใี จอันอบรมแลว้ ด้วยอาหาเรปฏิกูลสัญญาอยู่โดยมาก จิตย่อม
ไหลไปในตณั หาในรส หรอื ความเปน็ ของไมป่ ฏิกลู ยอ่ มต้งั อยไู่ ซร้
         ภิกษุพึงทราบข้อนั้นดังนี้ว่า อาหาเรปฏิกูลสัญญาอันเราไม่ได้เจริญแล้ว คุณวิเศษทั้ง
เบ้ืองต้นและเบ้อื งปลายของเราไมม่ ี ผลแห่งภาวนาของเรายังไม่ถึงท่ี เพราะฉะน้ัน ภิกษุนั้นจึงต้องเป็น
ผู้ร้ทู ่วั ถงึ ในอาหาเรปฏกิ ูลสญั ญานน้ั
         ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ถ้าเมื่อภิกษุมีใจอันอบรมแล้วอาหาเรปฏิกูลสัญญาอยู่โดยมาก
จิตย่อมหวลกลับงอกลับ ถอยกลับจากตัณหาในรส ไม่ยื่นไปรับตัณหาในรส อุเบกขาหรือความเป็น
ของปฏกิ ูลยอ่ มตง้ั อยูไ่ ซร้ ภิกษุพงึ ทราบข้อนั้นดงั นีว้ า่

        ๑ พระพทุ ธโฆสเถระ, คัมภีรว์ สิ ุทธมิ รรค, แปลโดย สมเดจ็ พระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), หนา้ ๑๘๕.
        ๒ พระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร), ภาวนาทีปนี, หนา้ ๓๐.
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91