Page 73 - กัมมัฏฐานโบราณล้านนา
P. 73

๕๘

จับสิง่ นเ้ี ขา้ แล้ว จะชกั นาใหจ้ ิตแน่วแนอ่ ยู่กับส่ิงน้ี จนเป็นสมาธิไดม้ ่นั คงและเร็วท่ีสุด๑ ใน ๔๐ ประเภท
น้ี สามารถแบง่ ได้เปน็ ๒ ลักษณะใหญ่ คอื (๑) สพั พตั ถกมั มฎั ฐาน เป็นกมั มัฎฐานที่ใช้ทั่วทุกท่ีและ (๒)
ปารหิ ารยิ กมั มัฎฐาน เป็นกัมมฎั ฐานทีจ่ ะต้องฝกึ ตลอด

         ดังว่า “...ในกัมมัฎฐาน ๒ อย่างนั้น เมตตาและมรณานุสสติ ช่ือว่า “สัพพัตถกัมมัฎฐาน”
เพราะกัมมัฎฐานดังกล่าวนั้น จาต้องการ จาต้องปรารถนาในที่ทุกแห่ง เพราะเหตุน้ัน จึงเรียกว่า
สัพพตั ถกกัมมฎั ฐาน ธรรมดาเมตตา จาปรารถนาในท่ีทัง้ ปวง มีอาวาสเป็นต้น จริงอยู่ ภิกษุผู้มีปกติอยู่
ด้วยเมตตาในอาวาสทั้งหลาย ย่อมเป็นที่รักเป็นท่ีชอบใจของเพ่ือน สพรหมจารีท้ังหลาย ด้วยเหตุนั้น
ย่อมอยู่เป็นผาสุก ไมก่ ระทบกระทั่งกนั ภิกษุผ้มู ปี กตอิ ยู่ดว้ ยเมตตาในเทวดาท้ังหลาย จะเป็นผู้อันเหล่า
เทวดารักษาคุ้มครองอยู่เป็นสุข ภิกษุผู้มีปกติอยู่ด้วยเมตตาในพระราชาและมหาอามาตย์ของ
พระราชาเป็นต้น จะเป็นผู้อันพระราชาและมหาอามาตย์เหล่าน้ันรักใคร่หวงแหนอยู่เป็นสุข ภิกษุผู้มี
ปกติอยดู่ ้วยเมตตาในคามและนิคมเป็นต้น จะเป็นผู้อันคนทั้งหลายในท่ีเท่ียวภิกขาจารเป็นต้นในที่ทุก
แห่ง สักการะ เคารพ ย่อมอยู่เปน็ สุข ภกิ ษุละความชอบใจในชีวิต เสียด้วยการเจริญมรณานุสสติ ย่อม
เป็นผู้ไม่ประมาทอยู่ ส่วนกัมมัฎฐานท่ีจะต้องฝึกทุกเมื่อ อันพระโยคีเรียนเอาแล้ว ตามสมควรแก่จริต
นั้น เป็นกัมมัฎฐานอย่างใดอย่างหน่ึงในบรรดาอสุภ ๑๐ กสิณ ๑๐ และอนุสสติ ๑๐ หรือเป็นเฉพาะ
จตุธาตุววัตถานการกาหนดธาตุ ๔ เท่าน้ัน กัมมัฎฐานน้ัน เรียกว่า “ปาริหาริยกัมมัฎฐาน” เพราะ
จาต้องบริหาร จาต้องรักษา และจาต้องเจริญอยู่ทุกเมื่อ ปาริหาริยกัมมัฎฐานน้ันน่ันแล เรียกว่า
มลู กัมมฎั ฐานก็ได้...”๒

         ๒.๒.๒ ประเภทกัมมัฏฐาน ๔๐
         ในวสิ ุทธิมรรคอธบิ ายวา่ กมั มัฏฐาน ๔๐ สามารถแบง่ เปน็ ๗ หมวด มี ๔๐ ประเภท ดังน้ี
         หมวดท่ี ๑ กสิณกัมมฏั ฐาน ๑๐
         กัมมัฏฐานหมวดท่ี ๑ คือ กสิณ มี ๑๐ ประการ ได้แก่ ปฐวีกสิณ อาโปกสิณ เตโชกสิณ
วาโยกสิณ นลี กสิณ ปิตกสณิ โลหิตกสิณ โอทาตกสณิ อาโลกกสิณ และปริจฉนิ นากาสกสณิ ๓
         การฝึกกสิณนั้น พบว่ามีมาก่อนพระพุทธศาสนา ดังปรากฏหลักฐานในพระไตรปิฎก
ความวา่ “...เม่อื พระพุทธเจา้ ยงั มิไดอ้ บุ ตั ขิ ้นึ พวกนักบวชในลัทธิเดียรถีย์ ทาบริกรรมในวาโยกสิณแล้ว
ยังฌานที่ ๔ ให้เกิดขึ้นได้แล้ว ออกจากฌานน้ันแล้ว ให้เกิดความยินดี ชอบใจว่า “น่าติเตียนจิต จิตนี้
นา่ ติเตียนแท้ ชื่อวา่ การไม่มีจิตนั่นแล เปน็ ความดี เพราะอาศัยจิต จึงเกิดทุกข์อันมีการฆ่าและการจอง
จาเป็นตน้ เปน็ ปัจจัย เมื่อไม่มีจติ ทุกข์น้ันก็ย่อมไม่มี” ดังน้ี ไม่เส่ือมฌาน ส้ินชีวิตแล้วไปเกิดในอสัญญ

        ๑ พระพทุ ธโฆสเถระ, คมั ภรี ์วิสทุ ธมิ รรค, แปลโดย สมเดจ็ พระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), หนา้ ๑๘๒-๑๙๒.
        ๒ ข.ุ อุ.๗๐/ ๒/ ๒๗๗.
        ๓ พระพทุ ธโฆสเถระ, คัมภรี ว์ สิ ุทธิมรรค, แปลโดย สมเดจ็ พระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร), หนา้ ๑๘๓.
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78