Page 53 - กัมมัฏฐานโบราณล้านนา
P. 53

๔๐

         ข) กมั มัฏฐานล้านนา
         สาหรบั การศึกษาเรื่องกัมมัฏฐานล้านนาปรากฏไม่มากนัก ท้ังหมดเป็นการปริวรรตคัมภีร์
ใบลาน ได้แก่ งานวิจัยของ รศ.ดร. วิโรจน์ อินทนนท์๑ อาจารย์ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะ
มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ศึกษาใบลานกัมมัฏฐานล้านนาจานวน ๕ ฉบับ ได้แก่
กัมมัฏฐาน ๔๐ ทัศ วดั สนั ป่าข่อย จงั หวดั เชียงใหม่, กัมมัฏฐานคอกเหล็ก วัดแช่ช้าง จังหวัดเชียงใหม่,
มูลกัมมัฏฐาน วัดแสนคันธา จังหวัดเชียงใหม่, มูลกัมมัฏฐาน วัดน้าบ่อหลวง จังหวัดเชียงใหม่ และ
วิปัสสนากัมมัฏฐานหลวง วัดประตูป่า จังหวัดลาพูน โดยได้จัดพิมพ์เอกสารบทสวดและวิธีปฏิบัติ
กัมมัฏฐานล้านนาเพื่อใช้สอนนักศึกษาในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ต่อมาในจึงจัดพิมพ์เผยแพร่ใน พ.ศ.
๒๕๕๗ โดยมหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ หนังสือดังกล่าว ใช้ใบลา
นของวดั ประตปู ่า จงั หวดั ลาพูนเป็นหลัก เสรมิ ดว้ ยใบลานอืน่ ๆ อีก ๔ ฉบับตามทก่ี ลา่ วนามไวข้ า้ งตน้
         การศึกษาของ รศ.ดร. วิโรจน์ อินทนนท์ พบองค์ความรู้เก่ียวกับกัมมัฏฐานล้านนา
เกี่ยวกับวิธีปฏิบัติกัมมัฏฐานว่า ใช้การสวดภาวนาตามวิสุทธิมรรค (กัมมัฏฐาน ๔๐) ก่อนจะภาวนา
หัวใจคาถาแต่ละบทไปพร้อมกับการนับลูกประคา เป็นการใช้สร้างสมาธิขั้นเร่ิมต้นด้วยการภาวนาคา
ซ้าๆ กัน เมื่อจิตเป็นสมาธิแล้ว ก็ระลึกถึง ทบทวน ทาความเข้าใจในความหมายของบทภาวนาน้ันๆ
ทั้งนจี้ ะภาวนาบทเดียวไปเร่ือยๆ หรือจะภาวนาท้งั ๔๐ บทก็ได้

        ๑ รศ.ดร. วโิ รจน์ อนิ ทนนท์, กัมมฏั ฐานล้านนา, (เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่,
๒๕๕๗).
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58