Page 43 - กัมมัฏฐานโบราณล้านนา
P. 43

๓๐

         สาหรับที่ฐาน ๗ แล้ว ให้เพ่งอยู่ตรงนั้นท่ีเดียว ให้คู่กันไปกับคาบริกรรม ทั้งนี้ถ้าชานาญ
แลว้ ให้เอาใจไปจรดฐาน ๗ เลยก็ได้ ที่ฐาน ๗ มี ศูนย์ ๕ ศูนย์ ตรงกลางฐานเป็นอากาศธาตุ ด้านหน้า
คือธาตุน้า ด้านขวาคือธาตุดิน ด้านหลังคือธาตุไฟ ด้านซ้ายคือธาตุลม เหตุท่ีต้องเพ่งอยู่ที่ฐาน ๗
เพราะเมื่อธาตุประชุมกัน ปฐมมรรคก็เกิด เม่ือปฐมมรรคเกิด มรรคผลนิพพานก็เกิด เม่ือดวงปฐม
มรรคเกิดเป็นดวงใสทศ่ี นู ย์กลางฐาน ๗ ให้หยุดบริกรรม และให้เพ่งอยู่ที่กลางดวงน้ัน ให้ใสหนักขึ้นไป
จนเป็นรศั มีแสงสวา่ ง

         ๔. ฝึกเจริญสมถภาวนา ๑๔ กายถึงธรรมกาย ต้ังแต่กายมนุษย์ถึงอรูปพรหมละเอียด
เรยี กวา่ ช้นั สมถะ ตง้ั แตก่ ายโคตรภูทง้ั หยาบทัง้ ละเอยี ดถึงกายพระอรหันตเปน็ ขน้ั วิปสั สนา๑

         ๕. ฝกึ พิสดารกายทั้ง ๑๘ สดุ กายหยาบกายละเอยี ด ใหเ้ ป็นวสี คือ ใหค้ ล่องแคล่ว ชานาญ
เพื่อเป็นพ้ืนฐานสาคัญในการเจริญวิชชาชั้นสูง และทาให้นิโรธดับสมุทัย ละอกุศลจิตของกายในกาย
โลกิยะจากสุดหยาบเข้าไปถึงกายในกาย เวทนาในเวทนา จิตในจิต และธรรมในธรรม ของกายท่ี
ละเอียดๆ ไปจนสุดละเอียด ได้เข้าถึง ได้รู้เห็นและเป็นธรรมในธรรม ซ่ึงเป็นกายโลกุตตระไปจนสุด
ละเอียดถงึ พระนพิ พานของพระพุทธเจา้

         ๖. ฝึกซ้อนกาย สับกาย และพิสดารกาย ซ้อนสับทับทวี๒ โดยให้รวมเอากายท่ีละเอียด
ที่สดุ หรอื ใหญท่ ่สี ุดไว้ข้างใน ซ้อนเข้าไปในกายท่ีละเอียดรองลงมา หรือที่หยาบกว่า เล็กกว่า ซึ่งเอาไว้
ข้างนอก โดยศูนย์กลางกายและดวงธรรมของทุกกายตรงกันหมด เป็นจุดเดียวกัน เรียกซ้อนกาย
ต่อไปให้สับกาย คือ เอากายที่ละเอียดไว้ข้างนอก กายหยาบไว้ข้างใน แล้วซ้อนสับทับทวี คือ ให้
พิจารณากายจนสุดหยาบสุดละเอียด แล้วจึงซ้อนกายสุดละเอียดในขณะที่พิสดารกายลงมาจนถึงสุด
หยาบ แล้วจงึ สับกายสุดหยาบให้ขณะทีพ่ ิสดารกายขน้ึ ไปถงึ กายสดุ ละเอยี ด

         ๗. ฝึกเจรญิ ฌานสมาบตั ิ (รูปฌาน ๔ อรูปฌาน ๔) โดยอนุโลมและปฏิโลม๓ เมื่อใจหยุดได้
ถูกส่วน ประกอบด้วยองค์ ๕ คือ วิตก วิจารณ์ ปีติ สุข และเอกัคคตา ก็จะเห็นองค์ฌานปรากฏข้ึน
รองรับกายมนุษย์ เหมือนดังอาสนะรองรับที่น่ัง มีลักษณะเป็นวงกลมใส ส่วนหนาประมาณหนึ่งคืบ
ขนาดกว้างเตม็ หนา้ ตกั พองาม องค์ฌานท่ีเห็นเกิดขึ้นนี้ ไม่เฉพาะแต่กายมนุษย์เท่าน้ัน หากปรากฏขึ้น
ทุกกาย จนถึงกายพระอรหัตพร้อมกันหมด เรียกว่า ปฐมฌาน แล้วเพ่งไปที่ศูนย์กลางดวงธรรมต่อไป
จนน่ิงได้ถูกส่วนและละเอียด ละวิตกวิจารณ์ได้ ทุติยฌานก็เกิดข้ึน เม่ือปีติหมดไป ตติยฌานก็เกิดขึ้น
เมอ่ื สขุ หายไป จตตุ ถฌานก็เกิดขึ้น

         ๑ หมายถึงตั้งแต่ขั้นอนุปัสสนาเห็นแจ้งในสภาวะของสังขารธรรม ตลดอถึงโลกุตรวิปัสสนาเห็นแจงในสภาวะของวิสังขาร
ธรรมคอื พระนิพพาน และเห็นแจ้งในอริยสัจ ๔ อันเป็นไปในญาน ๓ มีอาการ ๑๒

         ๒ พระราชญาณวิสิฐ, ทางมรรคผลนิพพาน ธรรมปฏิบัติถึงธรรมกายและพระนิพพาน, (กรุงเทพฯ: เอชทีพี เพรส จากัด,
๒๕๔๐), หน้า ๒๖๑-๒๖๒.

         ๓ พระราชญาณวสิ ฐิ , ทางมรรคผลนพิ พาน ธรรมปฏิบัตถิ ึงธรรมกายและพระนพิ พาน, หนา้ ๒๖๒-๒๖๓.
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48