Page 339 - กัมมัฏฐานโบราณล้านนา
P. 339

๓๒๔

๖.๑.๓ การตรวจสอบแนวทางการปฏิบตั ิโดยผเู้ ชีย่ วชาญ
         ผ้เู ช่ียวชาญมี ๒ ท่าน ไดแ้ ก่
         ๑. พระปลัดนิพนั ธ์ รกขฺ ติ สโี ล เจ้าอาวาสวดั ขนุ คง
         ให้ความคิดเห็นเก่ียวกับแนวทางการปฏิบัติกัมมัฎฐานโบราณล้านนาว่า ในประเด็นท่ีให้มี

การเรียนธรรมกอ่ นการปฏบิ ัตินัน้ อาจจะทาได้ในรูปแบบการเทศนาธรรมในโอกาสต่างๆ ของหมู่บ้าน
โดยสงฆ์ผู้เทศนส์ ามารถเลือกคัมภีร์ใบลานเกี่ยวกับ ทาน ศีล ภาวนา มาเทศนาได้ นอกจากเรื่อง ทาน
ศีล ภาวนา แล้ว เรื่องอื่นๆ ที่เก่ียวกับกัมมัฏฐานก็สามารถนามาเทศน์ได้ โดยความคิดเห็นแล้ว ทุกๆ
เร่อื งของพระพทุ ธศาสนา คอื กัมมฏั ฐานทัง้ สน้ิ

         ในขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ินน้ั ต้องเปน็ การปฏิบตั ิทไ่ี มเ่ รง่ รบี ให้ได้ผล แบบการปฏิบัติกัมมัฏฐาน
สติปฏั ฐานส่ี (ยบุ หนอพองหนอ) แต่ต้องเป็นการปฏิบัติที่ค่อยเป็นค่อยไป กลมกลืนกับวิถีชีวิตของชาว
ลา้ นนา เป็นหนงึ่ เดียวกับประเพณีโบราณ เพ่ือการส่งั สมบุญบารมี และใชเ้ พียงพุทธานุสสติ ธัมมานุสส
ติ และสงั ฆานุสสติเทา่ นั้นกพ็ อ ควรปฏบิ ัติไม่ให้ผิดแผกไปจากโบราณ โดยเฉพาะคาสวดกมั มฏั ฐาน

         ด้วยเหตุนี้หลักการการปฏิบัติกัมมัฏฐาน จึงเป็นไปตามการประพฤติ ทาน ศีล ภาวนา
แบบโบราณล้านนา

         จากความคิดเห็นของพระปลัดนิพันธ์ รกฺขิตสีโล เจ้าอาวาสวัดขุนคง เม่ือนามา
เปรยี บเทียบกับแนวทางการปฏิบัติกัมมัฏฐานที่เสนอไว้ พบว่า มีความคิดเห็นที่สอดคล้องกัน โดยเน้น
เรื่องการสั่งสมบุญบารมี ด้วยทาน ศีล ภาวนา และเลือกปฏิบัติเพียงพุทธานุสสติ ธัมมานุสสติ และ
สังฆานุสสตเิ ท่านัน้ สว่ นขน้ั ตอนการปฏิบัติก็ใหเ้ ป็นไปตามประเพณีโบราณ และการสอนธรรมโดยตรง
นั้น อาจใช้วิธีการเทศนาในเทศกาลต่างๆ ได้ เพราะจะทาให้ชาวบ้านไม่เคร่งเครียดเป็นกังวลกับการ
เรียนอย่างเป็นทางการ อาจใช้ทง้ั สองวิธีก็ได้

          ๒. ดร. พรศลิ ป์ รตั นชเู ดช ทป่ี รึกษางานวิจัย
         ให้ความคิดเห็นว่า การปฏิบัติกัมมัฏฐานโบราณล้านนา ท่ีมีหลักการปฏิบัติตามบุญิริยา
วตั ถุ ๓ คอื ทาน ศลี ภาวนา เปน็ สงิ่ ทีถ่ ูกต้องแลว้ เพราะการปฏิบัติเช่นนี้เป็นการส่ังสมบารมี เพ่ือการ
เป็นโพธิสัตว์ของชาวล้านนา เช่นเดียวกับที่ครูบาศรีวิชัย และพระภิกษุสงฆ์ล้านนาปฏิบัติ ซึ่งต่าง
ออกไปจากการปฏบิ ตั ิสายหลวงปมู่ น่ั ทม่ี ุง่ ม่ันจรงิ จังกบั การปฏบิ ัติ ปรารถนาจะหลุดพ้นให้เร็วที่สุด แต่
ชาวล้านนาปฏิบัติแบบค่อยเป็นค่อยไป สะสมไปเร่ือยๆ เม่ือหลักการปฏิบัติถูกต้อง การปฏิบัติก็
ถูกต้อง ตามแบบโบราณล้านนา
         ทาน ศีล ภาวนานสี้ าคญั หากปฏิบตั ิไม่ครบก็ไม่เอ้ือเก้ือกลู กนั แต่จะปฏบิ ัติให้ครบหมดนั้น
ยาก จงึ ตอ้ งค่อยเป็นคอ่ ยไป แตท่ าพร้อมๆ กันไป ไม่แยกกัน
         สาหรับอุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติ คือ ลูกประคานั้น เชื่อว่าน่าจะมาจากลังกา หรือพม่า
เพราะปรากฏภาพจติ รกรรมฝาผนังท่ลี ังกา เปน็ รูปพระภิกษุสงฆส์ วมลูกประคา เชน่ เดียวกับท่ีพม่า
   334   335   336   337   338   339   340   341   342   343   344