Page 33 - กัมมัฏฐานโบราณล้านนา
P. 33

๒๐

         ๘. เม่ือจิตสงบน่ิงแล้ว ให้หยุดคาภาวนาเสีย ให้กาหนดความรู้สึกไว้เฉพาะลมหายใจ แล้ว
ค่อยขยับจิตเลื่อนเข้าไปตามกองลม คือ กองลมท่ีสาคัญตรงท่ีจะทาให้เกิดความรู้สีกต่างๆ เช่น ทิพ
จักขุ ทิพโสต เจโตปริยญาณ รู้จักการเกิดตายของสัตว์ท้ังหลาย นานาธาตุวิชชา วิชาความรู้ในธาตุ
ตา่ งๆ อันเกี่ยวเนอ่ื งกบั รา่ งกาย

         ๙. ให้เคล่ือนจิตจากฐานของลมหายใจท่ี ๑ คือ ที่จมูก ขึ้นไปกลางหน้าผากเป็นฐานที่ ๒
คอื ทาความรู้สกึ อย่างกว้างขวาง ทาจิตให้น่ิงไว้ท่ีหน้าผากแล้วย้อนกลับมาที่จมูก ให้ย้ายจิตเพ่งข้ึนเพ่ง
ลงระหว่างจมูกกบั หนา้ ผาก ราวกบั คนขึน้ ลงภเู ขา สัก ๗ เที่ยว แล้วน่ิงอยู่ที่หน้าผาก ต่อน้ันจึงเลื่อนไป
ฐาน ๓ ท่ีกลางกระหม่อมข้างนอก ทากลับไปมาระหว่างฐาน ๒ กับ ๓ สัก ๓ เที่ยว แล้วให้จิตนิ่งที่
กลางกระหม่อม คอ่ ยเคลือ่ นไปฐานที่ ๔ คือ ลงในสมอง ตรงกลางกะโหลกศีรษะ แล้วนิ่งสักครู่ เคล่ือน
กลบั ไปมาระหว่างฐาน ๓ กับ ๔ ก่อนเอาจิตมาน่ิงไวท้ ก่ี ลางสมอง

         ๑๐. เมือ่ จิตอยกู่ ลางสมอง นมิ ิตอาจเกดิ ข้นึ เป็นต้นวา่ รูส้ กึ ขนึ้ ในศีรษะ แลเห็นและรู้สึกให้
เสยี วๆ ใหเ้ ย็นๆ รอ้ นๆ ใหเ้ ป็นเมฆไอสลวั ๆ ข้ึน บางทีกม็ องเหน็ กะโหลกศรี ษะของตนเอง ถึงอย่างนั้นก็
อย่าให้มีความหวั่นไหวไปตามนิมิตที่ปรากฏ ถ้าเราไม่ปรารถนาให้เป็นเช่นน้ัน ก็สูดลมหายใจเข้าไป
ยาวๆ ถึงหัวอก นิมติ ก็จะหายไป

         ๑๑. จับนิมิตเพียงนิมิตเดียวเป็นอารมณ์ ให้ขยายนิมิตน้ันให้ใหญ่เท่าศีรษะ จากนั้นให้
เล่ือนลงไปตั้งท่ีฐาน ๕ คือทรวงอก ขยายให้เต็มทรวงอก ทาลมอันนั้นให้ขาว สว่าง กระจายลม
กระจายแสงสวา่ งไปท่วั ทุกขมุ ขน จนกวา่ จะมองเห็นส่วนต่างๆ ของร่างกาย

         ๑๒. ประคองจติ ใหด้ ี ทาจิตใหเ้ ป็นหนง่ึ ถึงตอนนี้จะเกิดวิชาความรู้ข้ึนตามลาดับ กายของ
เรากจ็ ะเบาเหมอื นปยุ นุ่น ใจก็จะเอิบอิ่มน่ิมนวล วิเวกสงัด ได้รับความสุขกายสบายใจเป็นอย่างยิ่ง ให้
ทาจนกว่าจะชานาญ

         ๑๓. ให้รวมสิ่งที่เราเห็นทั้งหมดเข้าไว้เป็นจุดเดียว คือ เอกัคคตารมณ์ ให้เป็ฯสถาพอัน
เดียวกันทงั้ หมด จนเหน็ แจง้ ว่า สิ่งท้ังหลายเหลา่ นีเ้ กิดขนึ้ แลว้ ย่อมดบั ไปเป็นธรรมดา

         ๑๔. วางอารมณ์ท่ีดีและอารมณ์ที่ชั่วไปตามสภาพอารมณ์ เพราะดีและชั่วย่อมอยู่ด้วยกัน
มสี ภาพเสมอกัน วางจิตไว้ตามสภาพของจิต รู้ไว้ตามสภาพแห่งรู้ รู้น้ันไม่รู้จักเกิด ไม่รู้จักดับ คือ สันติ
ธรรม ดีก็รู้ ดีไม่ใช่รู้ ชั่วก็รู้ ช่ัวไม่ใช่รู้ รู้ไม่ใช่ช่ัว คือไม่รู้ ไม่ติดในความรู้และความไม่รู้ น้ันแหละคือ
ธรรมชาตธิ าตุแท้บรสิ ทุ ธิผ์ ุดผอ่ ง เหมอื นนา้ ท่ีอยู่ในใบบวั

         กมั มัฏฐานแบบ “อานาปานสติ” พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ) ๑
         พระธรรมโกศาจารย์ ได้แสดงอานาปานสติตามที่ปรากฏในพระไตรปิฎก ดังนี้ว่าอานา
ปานสติ ในบาลีมี ๑๖ ขนั้ แบ่งเป็น ๔ หมวด หมวดละ ๔ ขน้ั

         ๑ พทุ ธทาสภิกข,ุ การทาสมาธวิ ปิ สั สนา วิธฝี กึ อานาปานสติเบ้ืองต้น, (กรงุ เทพฯ: ธรรมสภา, ๒๕๔๙). วดั หลวงพ่อสดธรรมกา
ยาราม.
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38