Page 294 - กัมมัฏฐานโบราณล้านนา
P. 294

๒๗๙

         ๘.๓ คาใสน่ ้าต้นพระพุทธเจา้ ในวิหาร ให้ว่า “อิมินา ปานิยะตา นัง นิพพา นัง ปะระมัง สุ
ขัง”

         ๘.๔ ลาศีล ใหว้ า่
         “สาธุโอกาสะ มะยงั ภนั เต ติสะระเณนะ สัทธิง ปัญจัง สะมากะตัง ปัญจะสีลัง นิยาจามะ
ทตุ ยิ ัมปิ มะยงั ภันเต ตสิ ะระเณนะ สัทธิง ปญั จัง สะมานะคะตัง ปัญจะสีลัง นิยาจามะ ตติยัมปิ มะยัง
ภันเต ตสิ ะระเณนะ สัทธิง ปญั จะสะมานะคะตัง ปญั จะสีลัง นิยาจามะ สาธุโอกาสะ”
         ๙. ทาบุญตักบาตรพระภิกษสุ งฆใ์ นวดั
         ๙.๑ คาไหว้ครัวทานก่อนใส่บาตร ให้ว่า “อะโห วัตตะหัง วิกะตะมะรา มัจเจเรนะ เจตะ
สา วหิ ารามิ มตุ ตะจาโก วตั ตะยุง ทานะสงั วีภาคะระโต สุตินนัง วตั ตะเมตานัง”
         ๙.๒ คาใส่บาตร ผชู้ ายใหว้ ่า “...อิตัง เม ตานงั ปะรสิ ุทโธ สุขิโต โหมิ...” ผู้หญงิ ให้ว่า “...อิ
ตัง เม ตานัง ปะรสิ ุทโธ สขุ ิโต โหมิ...”
         ๑๐. กรวดนา้ หลงั จากกระทาบุญใหท้ านแลว้ จึงหยาดนา้ แผ่บญุ กศุ ล ก่อนกลับบา้ น
          “...อิมินา บผุ ผาลาชา ตานัง ภิกขะหารตั ตานัง สัพพะ ปะริวาระตานัง สัพพะปูชุปะการะ
นะตานัง มะหาผะลัง โลกยิ ะ โลกตุ ตระ นิพพานะ สัปปะติสุขัง กุศลบุญอันน้ีนามีมาก ข้าขอฝากไปหา
ท้ังปิตาและมารดาภริยาสามีบุตตาบุตตีญาติกาจะ ปันธุ จะ เตวะ จะ อินทา จะ พรหมา จะ ยมมะ
ราชา จะตุโล กัปปะละ กัณทะปะ นากะกุรุธธะ อาสุรา อาสุระ เวทสะ วันโน จะ ธาระณี จะ คงคา
จะ จะเทวียา สัพพะสตั ตานงั เวรานงั อะเวรา ปัฐะวียัง ทวะทัสสะระวายสี อะทิตตะยะ จันทะ อังคา
ระ พทุ ธะ พฤหัสะ ปัตติ สุกกะ โสรี ราหู เกตุ นวะคะหานิ สปั ปะโสโต ปะเรเตเชนะ ปิตัง อะนุระขันตุ
โว อนุโมทามิ นปิ านัง ปะรามัง สขุ งั ...”
         ๑๑ เม่อื จะออกจากวัด ให้ว่า “อปั ปะมา เทถะ”
         การปฏิบัติกัมมัฏฐานโบราณล้านนาท่ีวัดขุนคง มีลักษณะเป็นองค์รวม ไม่ได้เน้นเฉพาะ
การน่ังปฏบิ ัตกิ ัมมัฏฐานนบั ลกู ประคาเพียงอย่างเดียว เร่ิมตั้งแต่ก่อนเข้าวัดมีการเตรียมสติให้ต่ังมั่นใน
บญุ ท่ีจะกระทาตลอดทั้งคนื กระท่งั ถึงเชา้ ของอกี วนั ดว้ ยการกล่าวคาเข้าวัด และด้วยคากล่าวคาถาบท
ต่างๆ ผู้ปฏิบัติสามารถประคองรักษาสตินั้นไว้ได้ คาถาบทต่างๆ จึงเป็นเครื่องมือรักษาสติของผู้
ปฏิบตั ิ
        ในการนับลูกประคานั้น ในการนับลูกประคา ให้วางสายประคาไว้ในอุ้งมือ โดยยกมือขึ้น
ระดบั หนา้ ผาก ในลกั ษณะงอน้วิ ท้งั ๔ เขา้ หาตนเอง ลกู ประคาจะตง้ั อยบู่ นส่วนปลายของน้ิวกลาง เม่ือ
จะนับให้ใช้น้ิวชีด้ นั ลกู ประคาเขา้ มาดา้ นในตัว และใชน้ วิ้ หัวแม่มือดันลูกประคาลงด้านล่าง เป็นจังหวะ
ติดต่อกันไป อาทิ เม่ือภาวนาคาว่า “พุท” ขณะปฏิบัติพุทธานุสสติ ใช้น้ิวช้ีดันลูกประคาลง และเมื่อ
นับ “โท” ขณะปฏิบัตพิ ุทธานุสสติ ใชน้ ้ิวหวั แม่มือดันลูกประคาลง เปน็ ตน้
   289   290   291   292   293   294   295   296   297   298   299