Page 214 - กัมมัฏฐานโบราณล้านนา
P. 214

๑๙๙

ตารางที่ ๑๑ แสดงคาบริกรรมแต่ละส่วนในบทปฏิบัติกัมมัฏฐานของพระครูพัฒนากิจจานุรักษ์
(ครูบาวงศ)์

กัมมฏั ฐาน    คาบริกรรม

พุทธานุสสติ   พุทโธ
ธมั มานุสสติ  ธมั โม
สังฆานุสสติ   สาวกสงั โฆ
พรหมวหิ าร ๔  เมตตา กรณุ า มฑุ ติ า อเุ บกขา
ไตรลกั ขณ์    อหงั นามรปู ัง อนจิ จงั ๓ ครงั้
              อหงั นามรปู งั ทกุ ขัง ๓ คร้งั
              อหงั นามรูปัง อนัตตา ๓ ครง้ั
              นจิ จัง วะตะ นพิ พานงั สุขัง วะตะ นพิ พานงั สรัง วะตะ นิพพานัง สารงั วะตะ นิ
              พพานัง นิพพานงั ปะระมัง สุขงั

         ๓. แสดงคาบริกรรมที่ง่ายๆ สั้นๆ ทุกคนสามารถจาได้ เช่น “พุทโธ” “ธัมโม” “สังโฆ”
“เมตตา” “กรณุ า” “มุทติ า” “อุเบกขา” เป็นตน้

         ๔. สร้างลักษณะเฉพาะในการน่ังสมาธิ โดยมี ๓ ลักษณะ ได้แก่ การวางมือไว้บนตัก การ
แตะหน้าผาก การแตะจมูก โดยเชื่อว่าการแตะที่จุดใดมีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติธรรมในอดีตชาติ
คอื คนทใี่ ชน้ ว้ิ แตะจมูกเมื่อทาสมาธิ ในอดีตเคยปฏิบัติสมาธิภาวนาโดยหลักอานาปานสติ คนที่วางมือ
ไว้บนตัก ในอดีตเคยปฏิบัติแบบยุบหนอพองหนอ ส่วนคนที่ใช้มือแตะท่ีหน้าผาก ในอดีตเคยปฏิบัติ
ภาวนากับสมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังษี ทั้งน้ีใครจะต้องแตะท่ีใด จะมีลูกศิษย์ของพระครูพัฒนา
กิจจานรุ กั ษ์ (ครบู าวงศ์)ที่ไดส้ มาธิสูงบอกให้
   209   210   211   212   213   214   215   216   217   218   219