Page 18 - กัมมัฏฐานโบราณล้านนา
P. 18

๖

พัฒนากิจจานรุ ักษ์ (ครูบาวงศ)์ วดั พระพุทธบาทหว้ ยต้ม อาเภอล้ี จงั หวัดลาพูน (พ.ศ. ๒๔๕๖-๒๕๔๓)
และครูบาธรรมชยั ธมมฺ ชโย วดั ทุ่งหลวง อาเภอแมแ่ ตง จังหวัดเชียงใหม่ (พ.ศ. ๒๔๕๗-๒๕๓๐) ลาดับ
พ.ศ. ท่ีต่างกันออกไปและเรียงลาดับกันไปนี้ ช่วยทาให้เราเห็นพัฒนาการของการเรียนการสอน
กัมมัฏฐานในลา้ นนาอกี ดว้ ย

         ส่วนเอกสารทุตยิ ภูมิ ได้แก่ คัมภีรอ์ รรถกถา ฎีกา หนังสือ วิทยานิพนธ์ งานวิจัย บทความ
เอกสารทางวชิ าการทเี่ ก่ียวข้อง และส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์

๑.๕ นยิ ามศัพท์เฉพาะทใ่ี ชใ้ นการวิจยั
         ล้านนา หมายถึง พ้ืนที่ในภาคเหนือตอนบน ๘ จังหวัดของประเทศไทย ได้แก่ จังหวัด

เชยี งใหม่ เชยี งราย แม่ฮอ่ งสอน ลาพนู ลาปาง แพร่ นา่ น และพะเยา พืน้ ทีเ่ หลา่ น้ีในอดตี เป็นส่วนหน่ึง
ของอาณาจักรล้านนาที่มีศูนย์กลางความสาคัญอยู่ท่ีจังหวัดเชียงใหม่ในปัจจุบัน มีประวัติศาสตร์และ
วฒั นธรรมร่วมกนั

         กัมมัฏฐาน หมายถึง การปฏิบัติเจริญภาวนา ฝึกอบรมจิตและปัญญา แบ่งเป็นสมถ
กมั มฏั ฐาน และวิปัสสนากัมมฏั ฐาน

         กมั มฏั ฐานลา้ นนา หมายถึง กัมมัฏฐานที่ปฏิบัติในล้านนา ต้ังแต่ช่วง พุทธศตวรรษท่ี ๒๒
– ๒๕

         การถอดรหัสองค์ความรู้ หมายถึง การถอดองค์ความรู้จากคัมภีร์ใบลาน และจากการ
ปฏบิ ตั ิจรงิ ในเรอื่ งหลักการ พิธีกรรม ขั้นตอนการปฏบิ ตั ิ และผลจากการปฏิบัติกมั มฏั ฐานล้านนา

๑.๖ ทบทวนเอกสารและงานวจิ ัยที่เกยี่ วข้อง
         ๑.๖.๑ เอกสาร
         ก) ความรู้เกยี่ วกับกมั มัฏฐาน
         พระธรรมปิฎก๑ อธิบายกัมมัฏฐานว่า ท่ีตั้งแห่งการทางานของจิต หรือที่ให้จิตทางาน

หรือสิ่งท่ีใช้เป็นอารมณ์ในการเจริญภาวนา หรืออุบาย หรือกลวิธีเหน่ียวนาสมาธิ เพ่ือให้จิตมีงานทา
และสงบได้ ไม่เล่ือนลอยฟุ้งซ่านไปอย่างไร้จุดหมาย ท่านขยายความว่าเป็นคาเดียวกับคาว่าภาวนา
โดยแบง่ เป็นสมถภาวนา (สมถกัมมัฎฐาน) หมายถงึ การฝกึ อบรมจิตใหเ้ กิดความสงบ การฝึกสมาธิ กับ
วิปัสสนาภาวนา (วิปัสสนากัมมัฏฐาน) หมายถึง การฝึกอบรมปัญญาให้เกิดความรู้แจ้งตามเป็นจริง

        ๑ พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยตุ โฺ ต), พุทธธรรม, พิมพค์ รง้ั ท่ี ๑๑, (กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๔๖).
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23