หุ่
นละครเล็
ก
สั
นนิ
ษฐานว่
าเริ่
มมี
การเล่
นเป็
นมหรสพราวปี
พ.ศ. ๒๔๔๔ โดยนายแกร
ศั
พทวนิ
ช เป็
นผู
้
ริ
เริ่
มสร้
างขึ้
น ตั
วหุ
่
นมี
ขนาดสู
งประมาณ ๑ เมตร สร้
างเลี
ยนแบบ
หุ
่
นหลวงและหุ
่
นเล็
ก แต่
ต่
างกั
นที่
การบั
งคั
บหุ
่
นและลี
ลาการเชิ
ด ซึ่
งเป็
น
ศิ
ลปะที
่
สร้
างสรรค์
ขึ้
นใหม่
ต่
อมานายสาคร ยั
งเขี
ยวสด ผู
้
ได้
รั
บการสื
บทอดวิ
ชา
หุ
่
นละครเล็
ก ได้
สร้
างหุ
่
นละครเล็
กขึ้
นมาใหม่
และพั
ฒนารู
ปแบบในการเชิ
ดให้
ออกมาอยู
่
ด้
านนอก เพื่
อให้
ผู
้
ชมได้
เห็
นลี
ลาของผู
้
เชิ
ดไปพร้
อมๆ กั
บหุ
่
น
โดยหุ
่
น ๑ ตั
ว ใช้
ผู
้
เชิ
ด ๓ คน และมี
การถ่
ายทอดสู
่
บุ
ตรชายหญิ
ง โดยจั
ดตั้
งคณะ
หุ่
นขึ้
นครั้
งแรก ใช้
ชื่
อว่
า คณะสาครนาฏศิ
ลป์
ละครเล็
กหลานครู
แกร และได้
ก่
อตั้
งโรงละคร ส�
ำหรั
บจั
ดแสดงหุ
่
นละครเล็
กขึ้
นเป็
นครั้
งแรกในประเทศไทย
ซึ่
งรู้
จั
กกั
นในนาม นาฏยศาลา หุ่
นละครเล็
ก (โจหลุ
ยส์
)
ความส�
ำคั
ญของหุ
่
นไทยคื
อการน�
ำศิ
ลปวั
ฒนธรรมอั
นวิ
จิ
ตรแขนงต่
างๆ
ของชาติ
รวมเข้
าไว้
ด้
วยกั
น การสร้
างหุ
่
นหนึ่
งตั
ว ต้
องอาศั
ยช่
างผู
้
มี
ความช�
ำนาญ
ทางประติ
มากรรม จิ
ตรกรรม ในการสร้
างส่
วนหั
วและล�
ำตั
ว รวมถึ
งเชี่
ยวชาญ
หลั
กกลศาสตร์
ในการสร้
างกลไกบั
งคั
บหุ
่
น อี
กทั้
งต้
องใช้
ช่
างประณี
ตศิ
ลป์
ผู
้
ช�
ำนาญในการฝี
มื
อเย็
บปั
กถั
กร้
อย ประดิ
ษฐ์
เครื่
องแต่
งกายและเครื่
องประดั
บ
ส�
ำหรั
บผู
้
เชิ
ดหุ
่
นกระบอก ต้
องเป็
นผู
้
มี
ความรู
้
ทางนาฏศิ
ลป์
ดุ
ริ
ยางคศิ
ลป์
และวรรณศิ
ลป์
เนื่
องจากการร่
ายร�
ำของหุ
่
นท�
ำตามแบบละครร�
ำ และผู
้
เชิ
ดยั
ง
ต้
องรู
้
จั
กจั
งหวะและอารมณ์
ของเพลงที่
ใช้
ประกอบการแสดง ตลอดจนการ
ด�
ำเนิ
นเรื่
องตามบทประพั
นธ์
และบทร้
องเจรจา นอกจากนี้
หากเป็
นการแสดง
หุ่
นกระบอกยั
งประกอบด้
วยศิ
ลปะชั้
นสู
งอี
กหลายสาขา เช่
น สถาปั
ตยกรรม
มั
ณฑนศิ
ลป์
ในการสร้
างโรงหุ
่
นและฉากให้
เหมาะกั
บเนื้
อเรื่
อง เรี
ยกว่
าเป็
น
งานแสดงที่
น�
ำศาสตร์
และศิ
ลป์
แขนงต่
างๆ ของไทยมาหลอมรวมเข้
าด้
วยกั
น
อย่
างงดงามลงตั
ว
• ในการแสดงหุ่
นละครเล็
กผู้
ชมจะเห็
นทั้
งตั
วหุ่
นและผู้
เชิ
ดร่
ายร�
ำ
ไปพร้
อมกั
น จึ
งต้
องใช้
ผู้
เชิ
ดที่
มี
ความช�
ำนาญในการเล่
นโขนละคร
เป็
นอย่
างดี
“
นอกจากตั
วหุ่
นหลวงที่
ยั
งหลงเหลื
ออยู่
จนถึ
งปั
จจุ
บั
น หลั
กฐาน
การแสดงหุ่
นของไทยยั
งปรากฏให้
เห็
นในภาพจิ
ตรกรรมฝาผนั
ง
ฝี
มื
อช่
างสมั
ยรั
ชกาลที่
๓ ที่
วั
ดพระเชตุ
พนวิ
มลมั
งคลาราม
และฝี
มื
อช่
างสมั
ยรั
ชกาลที่
๔ ที่
วั
ดทองธรรมชาติ
วั
ดโสมนั
สวรวิ
หาร
กรุ
งเทพฯ และวั
ดมั
ชฌิ
มาวาส จั
งหวั
ดสงขลา
”