Page 90 - มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม๒๕๕๒

Basic HTML Version

82
มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม
ปราสาทศพ เป็
นเครื่
องประกอบพิธีงานศพ
ของชาวล้
านนา มี
รู
ปทรงเป็
นปราสาทสำหรั
รองรั
บหีบศพในพิธีประชุ
มเพลิง (เผาศพ) ที่
ป่
าช้า
แต่
เดิ
มเป็
นรู
ปแบบของปราสาทศพนกหั
สดี
ลิ
งค์
ของพระเถระและชนชั
นปกครอง แหล่
งผลิ
ที่
สำคั
ญอยู
ที่
จั
งหวั
ดเชียงราย พะเยา และลำปาง
การทำปราสาทศพ จะใช้
ไม้
เนื ้
ออ่
อน เช่
ไม้
งิ
ว และไม้
โมก ประกอบเป็
นโครงสร้
างแต่
ด้
วยกระดาษทากาว และปิ
ดทั
บด้
วยกระดาษฉลุ
ลวดลายส ี
สั
นต่
างๆ บางครั
งใช ้
กระดาษเง ิ
กระดาษทองแต่
งเสริ
มให้
งดงาม ประดั
บด้
วยผ้
ม่
านโปร่
ในการสร้
างปราสาทศพมี
การแบ่
งหน้
าที่
ระหว่
าง
ผู
้ชายและผู
้หญิง โดยช่
างที่
ทำโครงสร้างจากไม้ ช่
างผู
้ประกอบ
โครงสร้
าง และจั
ดตั
งศพในพิ
ธี ส่
วนใหญ่
จะเป็
นช่
างผู
ชาย
ส่
วนช่
างปิ
ดกระดาษโครงสร้
างและงานตกแต่
ง เป็
นช่
าง
ผู
้หญิง
คุ
ณค่าหรือลั
กษณะพิเศษอั
นโดดเด่นของปราสาทศพ
สกุ
ลช่
างลำปาง คือ เป็
นสั
ญลั
กษณ์
ในการให้เกียรติ ยกย่
อง
ผู
วายชนม์
และส่
งดวงว ิ
ญญาณให้
ไปสถิ
ตอยู
ในว ิ
มาน
บนสวรรค์
ความงดงามในช่
วงของพิธีกรรม เช่
น ในขบวนแห่
จากบ้านไปป่
าช้า และการจุ
ดไฟเผาปราสาทด้วยชุ
ดดอกไม้ไฟ
ที่
งดงาม ช่
วยให้
คลายความเศร ้
าโศกได้
ในระดั
บหนึ่
นอกจากนี ้ยั
งสะท้
อนความหมายให้
ประจั
กษ์ต่อผู
ร่วมพิ
ธี
ศพ
จากการเผาไหม้ของปราสาทศพที่
งดงามกลายเป็
นเถ้าถ่าน
แสดงถึ
งความเป็
นอนิ
จจั
ง ซึ่
งเป็
นสาระสำคั
ญในหลั
คำสอนของพุ
ทธศาสนา ปั
จจุ
บั
นมี
การประยุ
กต์ใช้
เก้
าอี
พั
หรือเก้าอี ้พลาสติกเป็
นโครงสร้างของปราสาทศพ หลั
งจาก
การเผาศพแล้วจะนำเก้าอี้ไปถวายวั
ด โดยไม่
มีการเผาปราสาท
ดั
งเช่
นแต่
ก่
อน
ปราสาทศพสกุ
ลช่
างลำปาง