80
มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม
เพชรบุ
รี
เป็
นจั
งหวั
ดที่
มี
ช่
างหลากหลาย
สาขา เช่น การเขียน การปั
้
น การแกะสลั
ก ฯลฯ
ได้
สร้
างสรรค์
งานฝี
มื
อไว้
เป็
นมรดกของชาติ
เป็
น
จำนวนมาก โดยเฉพาะงานศิลปหั
ตถกรรมเครื่
อง
ทองรู
ปพรรณแบบโบราณ ซึ่
งเป็
นสั
ญลั
กษณ์
อย่
างหนึ่
งของจั
งหวั
ดเพชรบุ
ร ี มี
ชื่
อเสี
ยงเป็
น
ที่
ยอมรั
บกั
นทั่
วไปว่
าเป็
นผลงานด้
านหั
ตถศิ
ลป์
ที่
มี
คุ
ณค่
า มี
ความประณี
ต งดงาม แสดงถึ
ง
เอกลั
กษณ์
แห่
งภู
มิ
ปั
ญญาที่
ผสมผสานกั
บฝี
มื
อ
ของช่
างทอง
การถ่
ายทอดงานช่
างทองจั
งหวั
ดเพชรบุ
รี
มั
กสอนให้คนในครอบครั
ว และผู
้ที่
มีใจรั
กในศิลปะ
ช่
างทองที่
ปรากฏหลั
กฐานคนแรกของจั
งหวั
ดเพชรบุ
ร ี
คื
อ นายหวน ตาลวั
นนา หลั
งจากนั
้
น มี
ตระกู
ลช่
างอื่
นๆ
ที่
สืบสานงานศิลปหั
ตถกรรมเครื่
องทองจนเป็
นที่
รู
้จั
กกั
นดีใน
เวลาต่
อมา คื
อ ช่
างทองตระกู
ล “สุ
วรรณช่
าง” ตระกู
ล
“ทองสั
มฤทธิ์
” ตระกู
ล “ชู
บดินทร์” ตระกู
ลช่างทองเหล่านี ้
ได้ถ่ายทอดความรู
้ด้านงานช่างทองแก่ลู
กหลานและศิษย์ไว้
หลายคน แต่
ส่
วนใหญ่
เสียชีวิตไปเกือบหมดแล้ว บางคนอายุ
มากและสุ
ขภาพไม่
ดีจึงเลิกทำทอง มีแต่
นางเนื่
อง แฝงสีคำ
ช่างทองเชื ้
อสายตระกู
ล “ชู
บดิ
นทร์” เพี
ยงคนเดี
ยวที่
ยั
งคง
ทำทองอยู
่
จนถึงปั
จจุ
บั
น
เครื่
องทองโบราณสกุ
ลช่
างเพชรบุ
รี
ลั
กษณะเด่
นของทองรู
ปพรรณของช่
างทองเชื
้
อสาย
ตระกู
ล “ชู
บดินทร์” เป็
นการผสมผสานระหว่างงานช่างกั
บ
ศิ
ลปะอย่
างสมดุ
ล เป็
นผลงานที่
เกิ
ดจากความรู
้ ผสานกั
บ
อารมณ์ ความรู
้
สึ
กและใจรั
ก งานทุ
กชิ
้
นจึ
งมี
ความเป็
น
ตั
วของตั
วเอง ให้
อารมณ์
ความรู
้
สึ
กที่
ลึ
กซึ
้
งสร้
างสรรค์
ไม่
เลียนแบบผู
้ใด และมีความประณีตงดงาม