78
มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม
รู
ปหนั
งตะลุ
งเป็
นงานหั
ตถกรรมที่
นำหนั
งสั
ตว์มาฟอก
แล้
วนำไปแกะสลั
กเป็
นรู
ป เพื่
อใช้
ในการแสดงหนั
งตะลุ
ง
ในอดี
ต มี
การนำหนั
งสั
ตว์
ชนิ
ดต่
างๆ มาแกะสลั
ก ได้
แก่
หนั
งหมี หนั
งกวางหนั
งเสื
อ หนั
งเก้
ง หนั
งกระจง เป็
นต้
น
แต่
ในปั
จจุ
บั
นหนั
งสั
ตว์
ที่
นิยมนำมาแกะเป็
นรู
ปหนั
งตะลุ
ง ได้แก่
หนั
งวั
ว และหนั
งควาย แหล่
งผลิตรู
ปหนั
งตะลุ
งที่
สำคั
ญอยู
่
ที่
อำเภอเขาชั
ยสน จั
งหวั
ดพั
ทลุ
ง
กระบวนการผลิ
ตรู
ปหนั
งตะลุ
งเริ่
มจากการนำหนั
ง
ที่
หมั
กแช่ไว้ในน้ำสั
บปะรด น้ำมะนาว หรือผลไม้ที่
มีรสเปรี ้ยว
(ปั
จจุ
บั
นใช ้
น้
ำส้
มสายชู
แทน) มาฟอกให้
ใส แล้
วนำไป
ตากแดดจนแห้ง จากนั
้นเขียนลายรู
ปแบบที่
ต้องการ นำไป
แกะสลั
ก ระบายสี “ผู
กไม้
ตั
บ” และ “ผู
กไม้
ชู
มื
อ” เป็
น
ขั
้นตอนสุ
ดท้ายของการทำรู
ปหนั
งตะลุ
ง
รู
ปหนั
งตะลุ
ง
รู
ปหนั
งตะลุ
ง นอกจากจะใช้
แสดงหนั
งตะลุ
งแล้
ว
ยั
งสร้างสรรค์เป็
นรู
ปแบบต่างๆ เพื่
อนำไปตกแต่งบ้านเรือน
นั
บเป็
นงานหั
ตถกรรมที่
สะท้
อนให้
เห็
นเอกลั
กษณ์
และ
อั
ตลั
กษณ์
ของคนใต้ที่
ผู
กพั
นกั
บหนั
งตะลุ
งอย่
างชั
ดเจน