Page 82 - มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม๒๕๕๒

Basic HTML Version

74
มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม
กริ
กร ิ
ช เป็
นภาษามลายู
หมายถ ึ
“มีดสั
้น” มีส่
วนประกอบที่
สำคั
ญ คือ หั
วกริช
ใบกริช และฝั
กกริช ใบกริชมี ๒ รู
ปแบบ คือ
แบบตรง และแบบคด แหล่งผลิตสำคั
ญอยู
่ที่
ตำบลตะโล๊
ะหะลอ อำเภอรามั
น จั
งหวั
ดยะลา
ในการทำกริ
ช ช่
างตี
กริ
ชนิ
ยมใช้
โลหะ
มากกว่
า ๒ ชนิ
ด นำมาหลอมแล้
วตี
ขึ
นรู
เป็
นใบกริ
ช จำนวนคดของกริ
ชจะบ่
งบอกถึ
ศั
กดินาของเจ้าของ คือ กริช ๓-๕ คด เป็
กริ
ชของชนชั
นสามั
ญ กริ
ช ๗ คด เป็
นกริ
ของทหารหรือข้าราชบริพาร ส่วนกริช ๙ คด
เป็
นกริชของเจ้าเมืองเล็
ก และคหบดีชั
้นสู
การทำหั
วกริ
ชและฝั
กกริ
ช นิ
ยมนำไม้
ที่
เป็
นมงคล
มาแกะสลั
กเป็
นหั
วกริ
ช เช่
น ไม้
แก้
ว หรื
อช่
างบางคนนิ
ยม
นำงาช้างมาทำเป็
นหั
วกริช เพราะเป็
นสิ่
งหายาก
ความสำคั
ญของกริ
ช นอกจากจะใช้
เป็
นอาวุ
ธแล้
กริ
ชยั
งเป็
นเครื่
องรางและเครื่
องประดั
บที่
แสดงถึ
งศั
กดิ
นา
ของผู
้ครอบครอง สะท้อนคุ
ณค่
าความงามทางศิลปวั
ฒนธรรม
ที่
เป็
นเอกลั
กษณ์
ของชาวไทยมุ
สลิมในเขตชายแดนภาคใต้