72
มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม
กระดิ่
งทองเหลื
อง มี
ลั
กษณะคล้
ายระฆั
งขนาดเล็
ก
มีตุ
้มเล็
กๆ (ลู
กฟั
ด) อยู
่ข้างในสำหรั
บทำให้เกิดเสียงดั
งเมื่
อ
มี
ลมมากระทบกั
บตั
วกระดิ่
ง ใช้
ตกแต่
งอาคารบ้
านเรื
อน
และสถาปั
ตยกรรมในพระพุ
ทธศาสนา แหล่
งผลิ
ตสำคั
ญ
อยู
่
ที่
หมู
่
บ้
านเขาลอยมู
ลโค ตำบลดอนตะโก อำเภอเมื
อง
จั
งหวั
ดราชบุ
รี
การผลิตกระดิ่
งทองเหลือง ตำบลดอนตะโก ใช้วั
ตถุ
ดิบ
ในชุ
มชน คือ ดินเหนียว มู
ลวั
วแห้ง แกลบ ไขวั
ว และน้ำมั
นชั
น
ส่
วนวั
ตถุ
ดิ
บที่
ต้
องนำมาจากภายนอก คื
อ ทองเหลื
อง
ชนิ
ดผสมที่
ใช้
ในการหลอมกระดิ่
ง และแผ่
นทองเหลื
อง
ร้อยละ ๑๐๐ ใช้ติดเป็
นใบโพธิ์
ไว้รั
บลมให้ไปสั่
นลู
กฟั
ด
ขั
้
นตอนการผลิ
ต เริ่
มจากการปั
้
นหุ
่
นดิ
น แล้
วกลึ
ง
ให้ได้รู
ป จากนั
้นพั
นด้วยขี ้ผึ ้ง ตกแต่งให้เรียบ ติดหู
ติดลาย
แล้
วชุ
บดิ
นนวล (ดิ
นผสมที่
ได้
จากดิ
นเหนี
ยวคลุ
กมู
ลวั
วเพื่
อ
ให้
ผิ
วเรี
ยบ) หุ
้
มด้
วยดิ
นผสมทรายและแกลบ แล้
วนำไป
เผาไฟเพื่
อไล่
ขี
้
ผึ
้
งออก เททองเหลื
องที่
หลอมเหลวแล้
ว
ลงไปแทนที่
ปล่อยให้เย็
นลงอย่างช้าๆ แล้วกะเทาะดินที่
หุ
้ม
ภายนอกออก จะได้กระดิ่
งทองเหลืองตามแม่
แบบ ขั
ดให้เรียบ
และขึ้นเงา จากนั
้นจึงติดลู
กฟั
ดหรือลู
กตี
การหล่
อกระดิ่
งทองเหลื
องเป็
นกรรมว ิ
ธี
โบราณ
ซึ่
งช่างต้องมีทั
กษะ ความรู
้เกี่
ยวกั
บขนาดของกระดิ่
ง ลู
กฟั
ด
และใบโพธิ์
ที่
ห้
อยลู
กฟั
ดให้
มี
ขนาดสั
มพั
นธ์
กั
น จึ
งจะเกิ
ด
เสียงดั
งกั
งวาน และได้ยินในระยะไกล
กระดิ่
งทองเหลื
อง