70
มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม
มี
ดอรั
ญญิ
ก เป็
นมี
ดที่
ทำด้
วยเหล็
กกล้
า ตี
จนเนื
้
อ
เหล็
กแน่
น แข็
งแรง ตั
วมี
ดคมบาง แต่
ไม่
แตกหร ื
อบิ่
น
แหล่
งผลิ
ตมี
ดอรั
ญญิ
กอยู
่
ที่
บ้
านต้
นโพธิ์
และบ้
านไผ่
หนอง
ตำบลอรั
ญญิก อำเภอนครหลวง จั
งหวั
ดพระนครศรีอยุ
ธยา
การทำมี
ดอรั
ญญิ
กเริ่
มจากการคั
ดเลื
อกเหล็
กเส้
น
ขนาดตามความเหมาะสม ตั
ดตามขนาดที่
ต้
องการ เผาไฟ
ให้ได้ที่
แล้วนำมาตีขึ ้นรู
ป จากนั
้นนำกลั
บไปเผาไฟซ้ำ ตีเพื่
อ
ตบแต่
งอีกครั
้งให้มีความคม นำไปเผาไฟเพื่
อชุ
บแข็
งอีกครั
้งหนึ่
ง
แล้วนำไปเข้าด้ามเป็
นขั
้นตอนสุ
ดท้าย
การ “ตีมีด” แม้มีกลวิธีไม่
ซั
บซ้อน แต่
ผู
้ตีต้องมีทั
กษะ
และต้องทำงานร่
วมกั
นหลายคน เช่
น คนตีพะเนิน (ค้อนใหญ่
)
ต้
องฝึ
กหั
ดตี
ร่
วมกั
นให้
ได้
จั
งหวะ ไม่
ขั
ดกั
น รู
้
ว่
ามี
ดรู
ปไหน
ควรตีตรงไหน และจะต้องคอยฟั
งสั
ญญาณการใช้เสียงของ
ผู
้จั
บเหล็
ก ที่
เรียกว่
า “หน้าเตา” ซึ่
งจะต้องเป็
นคนที่
มีความรู
้
เกี่
ยวกั
บการทำมีดอย่างดีเยี่
ยม จนได้เครื่
องเหล็
กคุ
ณภาพดี
มีชื่
อเสียงเป็
นที่
รู
้จั
กทั่
วประเทศ
มี
ดอรั
ญญิ
ก