66
มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม
เครื่
องจั
กสานย่
านลิ
เภา
เครื่
องจั
กสานย่
านลิเภา เป็
นเครื่
องจั
กสานประเภทหนึ่
ง
ที่
สานด ้
วยย่
านล ิ
เภา ซ ึ่
งเป็
นพื
ชตระกู
ลเฟิ
ร์
น หร ื
อ
เถาวั
ลย์
ชนิ
ดหนึ่
ง (ภาษาท้
องถิ่
นภาคใต้
เรี
ยกเถาวั
ลย์
ว่
า
“ย่
าน”) มีคุ
ณสมบั
ติที่
ดี คือ ลำต้นเหนียว ชาวบ้านจึงนำมา
จั
กสานเป็
นภาชนะเคร ื่
องใช ้
ต่
างๆ แหล่
งผลิ
ตที่
สำคั
ญ
ของเครื่
องจั
กสานย่
านลิ
เภาอยู
่
ที่
บ้
านหมน ตำบลท่
าเรื
อ
อำเภอเมือง จั
งหวั
ดนครศรีธรรมราช
กระบวนการผลิ
ตเครื่
องจั
กสานย่
านลิ
เภา เริ่
มจาก
การนำย่
านลิเภามาจั
กผิวเป็
นเส้นๆ แล้วชั
กเรียดให้เส้นเรียบ
เสมอกั
น จากนั
้
นนำมาสานขั
ดกั
บตั
วโครงที่
ทำจากหวาย
และไม ้
ไผ่
ให้
เป็
นภาชนะเคร ื่
องใช ้
ต่
างๆ เช่
น กระเชอ
เชี่
ยนหมาก กล่
องใส่
ยาเส้น พาน ปั้
นชา ขั
นดอกไม้ธู
ปเทียน
กรงนก กระเป๋าถือ เป็
นต้น งานจั
กสานย่
านลิเภา นอกจาก
จะงดงามด้
วยลวดลายของการจั
กสานแล้
ว ยั
งงดงามด้
วย
สีผิวธรรมชาติของย่านลิเภา และสีผิวของตอกเส้นยืนที่
ทำ
จากไม้ไผ่
หรือไม้ลิงโร ทำให้เกิดสีสลั
บกั
นงดงาม บางครั
้ง
ยั
งเสริมส่
วนประกอบด้วยเครื่
องถมเงินและถมทอง เพื่
อเพิ่
ม
มู
ลค่
า ความงาม และคุ
ณค่
าของเครื่
องจั
กสานย่
านลิ
เภา
ให้สู
งขึ้น
งานจั
กสานย่
านลิเภา แสดงให้เห็
นถึงฝีมืออั
นประณีต
ความอุ
ตสาหะของช่างผู
้ผลิต ซึ่
งสร้างความภาคภู
มิใจให้แก่
ผู
้
ครอบครอง หรื
อผู
้
เป็
นเจ้
าของ นอกจากนี
้
ในปั
จจุ
บั
น
ยั
งได้
พั
ฒนารู
ปแบบ และสร้
างสรรค์
ลวดลายในรู
ปแบบ
ของที่
ระลึกด้วย