60
มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม
ซิ่
นตี
นจก คื
อ ผ้
าซิ่
นที่
มี
โครงสร้
าง ๓ ส่
วน คื
อ
ส่
วนหั
ว ส่
วนตั
ว และส่
วนตีน ที่
ทอด้วยกลวิธีจก การต่
อเชิง
(ตี
นซิ่
น) มี
ลวดลายพิ
เศษต่
างจากผ้
าซิ่
นที่
ใช้
ปกติ
ในชี
วิ
ต
ประจำวั
น ลวดลายจกที่
นำไปต่
อซิ่
น เรี
ยกว่
า “ตี
นจก”
มี
แหล่
งผลิ
ตสำคั
ญ (ที่
ยั
งคงไว้
ซึ่
งลั
กษณะเฉพาะถิ่
น) อยู
่
ที่
อำเภอแม่
แจ่
ม จั
งหวั
ดเชี
ยงใหม่ และอำเภอศรี
สั
ชนาลั
ย
จั
งหวั
ดสุ
โขทั
ย
กรรมว ิ
ธ ี
การทอผ ้
าจกเป็
นการทอและปั
กผ ้
าไป
พร้
อมๆ กั
น จกคื
อการทอลวดลายบนผื
นผ้
าด้
วยวิ
ธี
การ
เพิ่
มด้
ายเส้
นพุ
่
งพิ
เศษเข้
าไปเป็
นช่
วงๆ ไม่
ติ
ดต่
อกั
นตลอด
หน้
ากว้
างของผ้
า การจกจะใช้
ไม้
หรื
อขนเม่
นหรื
อนิ
้
วก้
อย
ยกขึ
้
นจก (ควั
ก) เส้
นด้
ายสี
สั
นต่
างๆ ขึ
้
นมาบนเส้
นยื
น
ให้เกิดลวดลายตามที่
ต้องการ
ผ ้
าต ี
นจกแบบดั
้
งเด ิ
มของแม่
แจ่
ม ส ื
บสายสกุ
ล
มาจากกลุ
่
มไทยวน นิ
ยมใช้
ฝ้
ายย้
อมสี
ธรรมชาติ
สำหรั
บ
การจกลวดลาย ซึ่
งค่อนข้างแน่น ด้ายเส้นยืนสีดำเป็
นพื ้นที่
สำหรั
บลวดลายจก ส่วนเส้นยืนสีแดงใช้เป็
นพื ้นที่
สำหรั
บเล็
บ
(ช่
วงล่
างสุ
ด) ของตีนจก จะไม่
มีลวดลายจก ยกเว้นลวดลาย
เป็
นเส้
นเล็
กๆ สี
ขาวดำ เรี
ยกว่
า “หางสะเปา” การทอจก
แบบดั
้งเดิมของชาวอำเภอแม่แจ่ม จั
งหวั
ดเชียงใหม่
ทอโดย
ให้ด้านหลั
งของจกอยู
่
ด้านบน
ซิ่
นตี
นจก
ผ้าตีนจกแบบดั
้งเดิมของบ้านหาดเสี ้ยว สืบสายสกุ
ล
มาจากกลุ
่
มไทพวน นิ
ยมใช้
ฝ้
ายสี
แดงเป็
นพื
้
นทั
้
งเส้
นยื
น
และเส้นพุ
่ง และใช้เส้นไหมย้อมสีต่างๆ เป็
นลวดลายของจก
ซึ่
งมี
ลวดลายห่
างๆ สามารถมองเห็
นพื
้
นสี
แดงได้
ชั
ดเจน
พื้นที่
ของลวดลายจกกระจายไปเต็
มผืนตีนจก มีเล็
บสีเหลือง
เล็
กๆ อยู
่
ขอบล่
างสุ
ด การทอจกดั
้
งเดิ
มของหาดเสี
้
ยว
ทอโดยให้ด้านหน้าของจกอยู
่
ด้านบน
ความงามของลวดลายผ้าตีนจก นอกจากจะสะท้อน
ให้เห็
นถึงฝีมืออั
นประณีตของช่
างผู
้ทอแล้ว ยั
งสะท้อนให้เห็
น
ถึงธรรมเนียมนิยมของสตรีชาวไท-ลาว ในการนุ
่งซิ่
นตีนจก
ในโอกาสต่างๆ อี
กด้
วย เช่น การไปวั
ด การแต่งงาน ฯลฯ
และความพร้
อมที่
จะออกเรื
อนเป็
นแม่
บ้
านของกุ
ลสตรี
ไท-ลาว