56
มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม
ดีเกร์
ฮู
ลู
เป็
นการขั
บร้องของชาวไทย
ภาคใต้
ใน ๓ จั
งหวั
ด ได้
แก่
นราธิ
วาส
ปั
ตตานี และยะลา คำว่
า ดีเกร์
เป็
นศั
พท์
ภาษาเปอร์
เซีย มีความหมาย ๒ ประการ
คื
อ ประการแรก หมายถึ
ง เพลงสวด
สรรเสริญพระเจ้า ประการที่
๒ หมายถึง
กลอนเพลงโต้
ตอบ นิ
ยมเล่นกั
นเป็
นกลุ
่
ม
หรือเป็
นคณะ ส่วนคำว่า “ฮู
ลู
” หมายถึง
บริ
เวณต้
นลำน้
ำหรื
อหมู
่
บ้
านในชนบท
ในที่
นี
้
อาจหมายถึ
งบร ิ
เวณต้
นกำเนิ
ด
แม่
น ้
ำปั
ตตาน ี
ที่
มาจากคำเร ี
ยกภาษา
ชาวบ้านว่
า “ทิศฮู
ลู
”)
ผู
้เล่นดีเกร์ฮู
ลู
ส่วนใหญ่เป็
นผู
้ชาย ประกอบด้วยนั
กร้อง
นำหรื
อ แม่
เพลง ๑–๒ คน ลู
กคู
่ ๑๐–๑๕ คน นั
กดนตรี
๕– ๖ คน แต่
งกายด ้
วยชุ
ดพื
้
นเม ื
องมุ
สล ิ
ม ลู
กคู
่
และ
นั
กดนตร ี
แต่
งกายเหมื
อนกั
น ส่
วนแม่
เพลงและนั
กร ้
อง
แต่
งกายแตกต่
างจากลู
กคู
่
และนั
กดนตรี เครื่
องดนตรี
ที่
ใช้
ประกอบการแสดง มี ฆ้
อง ๑ วง (โหม่
งใหญ่
) รำมะนา
อย่
างน้อย ๒ ใบ ลู
กแซ็
ก ๑-๒ คู
่
ต่
อมามีการเพิ่
มเติมกรั
บ
ฉาบ โหม่
งคู
่
(ฆ้องคู
่
) เข้าไปด้วย
ดี
เกร์
ฮู
ลู
เริ่
มต้
นแสดงด้
วยการโหมโรง มี
การขั
บบท
กาโร๊ะ เพื่
อเป็
นการไหว้
ครู
และทั
กทายเจ้
าภาพรวมถึ
งผู
้
ชม
จากนั
้นนั
กร้องจึงร้องบอกจุ
ดประสงค์ของงานที่
มาเล่นเพลง
ด้
วยเพลงร้
องจั
งหวะต่
างๆ สลั
บกั
บการขั
บบทโต้
ตอบกั
น
ในเรื่
องเหตุ
การณ์
บ้
านเมื
อง และจบด้
วยการขั
บกลอนลา
เรี
ยกว่
า “วาบู
แล” และโหมโรงลา ดี
เกร์
ฮู
ลู
ไม่
นิ
ยมแสดง
เป็
นเรื่
องราว ความสนุ
กสนานอยู
่
ที่
การขั
บบทโต้ตอบซึ่
งขึ้นกั
บ
ปฏิภาณไหวพริบของแม่
เพลง
ดี
เกร์
ฮู
ลู
บทบาทของการแสดงดีเกร์ฮู
ลู
นอกจากจะทำหน้าที่
เป็
นสื่
อให้
ความบั
นเทิ
งแก่
สั
งคมแล้
ว ขนบในการแสดง
และการใช้
ภาษามลายู
ในการแสดงยั
งสะท้
อนให้
เห็
นถึ
ง
เอกลั
กษณ์และอั
ตลั
กษณ์ของชาวไทยมุ
สลิ
มในแถบจั
งหวั
ด
ชายแดนภาคใต้ของไทย
ดี
เกร์
ฮู
ลู
ที่
ยั
งคงรั
กษาขนบการแสดงแบบโบราณ
และเป็
นที่
นิ
ยมของคนในท้
องถิ่
น ได้
แก่
คณะมะยะหา
คณะอาเน๊
าะปู
ยู
คณะสลินดงบายู
คณะบุ
หงาตานี