Page 52 - มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม๒๕๕๒

Basic HTML Version

44
มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม
วงสะล้
อ ซอ ปิ
น เป็
นชื่
อเรี
ยกวงดนตรี
พื ้
นบ้
านของ
จั
งหวั
ดน่
าน ประกอบด้
วยเครื่
องดนตรี คื
อ สะล้
อ และ
ปิ
น (ซึ
ง) ส่
วนซอนั
นเป็
นวิ
ธี
การขั
บร้
องลั
กษณะหนึ่
งของ
วั
ฒนธรรมล้านนา ซึ่
งมีเอกลั
กษณ์เฉพาะ
สะล้อ เป็
นเครื่
องดนตรีประเภทเครื่
องสี ทำให้เกิดเสียง
ด้วยการสี มีสาย ๒ สาย คั
นชั
กของสะล้อเป็
นคั
นชั
กอิสระ
ใช้
สี
ด้
านนอกเหมื
อนซอสามสายของวั
ฒนธรรมดนตรี
ไทย
ภาคกลาง สะล้
อของน่
านมี ๒ ลั
กษณะ คื
อ สะล้
อกลม
และสะล้
อก๊
อบ สะล้
อกลมเป็
นเครื่
องดนตรี
ดั
งเดิ
มเหมื
อน
สะล้
อสองสายของเชี
ยงใหม่ แต่
มี
ลั
กษณะเฉพาะที่
เป็
ภู
มิ
ปั
ญญาของชาวน่
าน พิ
จารณาได้
จากการจั
ดตำแหน่
ลู
กบิด การตั
ดหน้ากะลามะพร้าว การขึงสายสะล้อ เป็
นต้น
ส่วนสะล้อก๊
อบ เป็
นสะล้อที่
มีนมหรือหย่
อง คั
นหนึ่
งมีจำนวน
๙ นมบ้
าง ๑๑ นมบ้
าง การที่
สะล้
อมี
นมหร ื
อหย่
องนี
ช่วยให้การเล่นเครื่
องดนตรีชนิดนี ้คล่องตั
วมาก โดยเฉพาะ
เด็
กๆ ที่
ต้องการฝึกเล่
นเครื่
องดนตรีชนิดนี้
ปิ
น หรือซึง เป็
นเครื่
องดนตรีประเภทดีดของล้านนา
ที่
เป็
นที่
รู
้จั
กโดยทั่
วไป เป็
นเครื่
องดีดสายคู
่ โดยแบ่
งออกเป็
สายคู
บนและสายคู
ล่
าง รวมทั
งสิ
นสี่
สาย มี ๓ ขนาด คือ
ขนาดเล็
ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ ซึ่
งให้
เสี
ยงทุ
เหมาะกั
บการบรรเลงประกอบการขั
บซอ
การซอ ชาวน่
านมี
ศิ
ลปะการขั
บซอที่
เป็
นเอกลั
กษณ์
เฉพาะตั
ว ซอเมืองน่
านได้รั
บการกล่าวขานว่
ามีความไพเราะ
ดั
งมีคำกล่าวว่า คนน่านพู
ดเร็
วซอช้า เชียงใหม่พู
ดช้าซอเร็
การขั
บซอของน่
านมี
ทำนองที่
เป็
นแบบฉบั
บควรค่
าต่
อการ
รั
กษา เรียนรู
้ และสืบทอดต่อไปอย่างยิ่
ง เช่น ทำนองดาด
เมืองน่
าน หรือทำนองล่
องน่
าน ซึ่
งมีความเก่
าแก่
สืบทอดกั
มาตั
้งแต่สมั
ยเมืองน่านยั
งตั
้งอยู่
ที่
เมืองปั
ว นอกจากนี ้ก็
ยั
งมี
บทเพลงเก่
าแก่
ดั
งเดิ
มสื
บทอดต่
อกั
นมาอี
กจำนวนมาก
วงสะล้
อ ซอ ปิ
แม้
ว่
าบางเพลงอาจมี
ชื่
อเรี
ยกตรงกั
บเพลงของท้
องถิ่
นอื่
นๆ
ในด ิ
นแดนล ้
านนาก็
ตาม แต่
เพลงของน่
านก็
ม ี
ทำนอง
เฉพาะของตนเอง เช่น เพลงกล่อมนางนอน แม่หม้ายก้อม
แม่
หม้ายเครือ ตีนตุ
ม ตีนแหบ เพลงลั
บแลงหรือเพลงลั
บแล
เพลงปั
นฝ้าย ซึ่
งเป็
นทำนองที่
ให้อรรถรสที่
ไพเราะอย่
างมาก
วงสะล้อ ซอ ปิ
น จึงเป็
นวงดนตรีที่
มีคุ
ณค่าโดยตรง
ทั
้งต่อชาวน่าน ชาวล้านนา และชาวไทยทั
้งประเทศ ดนตรี
ของชาวน่
านจึ
งมี
ความโดดเด่
นเฉพาะตั
วที่
ควรแก่
ความ
ภาคภู
มิใจ เพราะกว่
าจะถึงยุ
คสมั
ยนี้ บรรพบุ
รุ
ษของชาวน่
าน
ได้
สร้
างสรรค์
ปรุ
งแต่
ง พั
ฒนา และสื
บทอดติ
ดต่
อกั
นมา
ชาวน่านได้นำดนตรีเข้าไปสอดแทรกในประเพณีหลายอย่าง
จนเป็
นส่
วนหนึ่
งของกิ
จกรรมประเพณี
ที่
ได้
รั
บการยอมรั
และถือปฏิบั
ติต่อเนื่
องกั
นมาจนถึงปั
จจุ
บั
ตั
วอย่
างของศ ิ
ลป ิ
นท ี่
ม ี
ความสามารถโดดเด่
เป็
นที่
ประจั
กษ์
ของวงสะล้
อ ซอ ปิ
น เช่
พ่
อไชยลั
งกา
เครื
อเสน พ่
อหนานเมื
องดี เทพสิ
ทธิ์
พ่
อคำผาย นุ
ปิ
ศิลปินแห่
งชาติ ฯลฯ