42
มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม
หนั
งตะลุ
ง ค ื
อ ศ ิ
ลปะการแสดงประจำท้
องถ ิ่
น
อย่างหนึ่
งของภาคใต้ เป็
นมหรสพที่
นิยมแพร่หลายอย่างยิ่
ง
มาเป็
นเวลานาน นั
กวิ
ชาการเชื่
อว่
ามหรสพการแสดงเงา
ประเภทหนั
งตะลุ
งนี
้ เป็
นวั
ฒนธรรมเก่
าแก่
ของมนุ
ษยชาติ
เคยปรากฏแพร่
หลายทั
้
งในแถบประเทศยุ
โรปและเอเชี
ย
ในแถบเอเชี
ยการแสดงหนั
งตะลุ
งได้
แพร่
หลายเข้
าสู
่
เอเชี
ย
ตะวั
นออกเฉียงใต้ มีประเทศอินโดนีเซีย (ชวา) เขมร พม่า
มาเลเซีย และประเทศไทย
แต่
เดิ
มคนในท้
องถิ่
นภาคใต้
เร ี
ยกหนั
งตะลุ
งสั
้
นๆ
ว่
า “หนั
ง” ดั
งคำกล่
าวที่
ได้
ยิ
นกั
นว่
า “ไปแลหนั
งโนรา”
จึ
งสั
นนิ
ษฐานว่
า คำว่
า “หนั
งตะลุ
ง” คงจะเริ่
มใช้
เมื่
อมี
การ
นำหนั
งจากภาคใต้ไปแสดงให้เป็
นที่
รู
้จั
กในภาคกลาง จึงได้เกิด
คำ “หนั
งตะลุ
ง” ขึ
้
น เพื่
อไม่
ให้
ซ้
ำกั
บหนั
งใหญ่ ซึ่
งแต่
เดิ
ม
เรี
ยกว่
า “หนั
ง” เช่
นเดี
ยวกั
น หนั
งจากภาคใต้
เข้
าไปเล่
น
ในกรุ
งเทพฯ ครั
้
งแรกในสมั
ยพระบาทสมเด็
จพระนั่
งเกล้
า
เจ้าอยู
่หั
ว โดยพระยาพั
ทลุ
ง (เผือก) นำไปเล่นแถวนางเลิ ้ง
หนั
งที่
เข้าไปครั
้งนั
้นเป็
นนายหนั
งจากจั
งหวั
ดพั
ทลุ
ง คนกรุ
งเทพฯ
จึงเรียก “หนั
งพั
ทลุ
ง” ต่
อมาเสียงเพี้ยนเป็
น “หนั
งตะลุ
ง”
หนั
งตะลุ
งเป็
นการเล่
าเรื่
องราวที่
ผู
กร้
อยเป็
นนิ
ยาย
ดำเนิ
นเรื่
องด้
วยบทร้
อยกรองที่
ขั
บร้
องเป็
นสำเนี
ยงท้
องถิ่
น
หรือที่
เรียกกั
นว่าการ “ว่าบท” มีบทสนทนาแทรกเป็
นระยะ
หนั
งตะลุ
ง
และใช้
การแสดงเงาบนจอผ้
าเป็
นสิ่
งดึ
งดู
ดสายตาของผู
้
ชม
ซึ่
งการว่
าบท การสนทนา และการแสดงเงานี้ นายหนั
งตะลุ
ง
เป็
นคนแสดงเองทั
้งหมด
อุ
ปกรณ์
ที่
ใช้
ในการแสดงหนั
งตะลุ
งที่
สำคั
ญ ได้
แก่
จอหนั
ง ไฟสำหรั
บใช ้
ส่
องแสง เคร ื่
องดนตร ี
หนั
งตะลุ
ง
ประกอบด้
วย ปี ่
ใน โหม่
ง ทั
บ กลองตุ
๊
ก ฉิ่
ง และแตระ
โดยมีนั
กดนตรีเรียกว่า “ลู
กคู
่” ทำหน้าที่
บรรเลงขณะแสดง
ในบรรดาเครื่
องดนตรีทั
้งหมด “ทั
บ” เป็
นเครื่
องกำกั
บจั
งหวะ
และท่
วงทำนองที่
สำคั
ญที่
สุ
ด ผู
้
บรรเลงดนตร ี
ชิ
้
นอื่
นๆ
ต้องคอยฟั
งและยั
กย้ายจั
งหวะตามเพลงทั
บ
ส่
วนรู
ปหนั
งที่
ใช้
ในการแสดงประกอบด้
วย รู
ปฤๅษี
รู
ปพระอิ
ศวร รู
ปเจ้
าเมือง-นางเมือง รู
ปพระเอก-นางเอก
รู
ปเทวดา รู
ปยั
กษ์ รู
ปตั
วตลก และรู
ปต่างๆ ซึ่
งจะเก็
บไว้ใน
“แผงหนั
ง” โดยในส่
วนของตั
วหนั
งนี
้ “ตั
วตลกหนั
งตะลุ
ง”
เป็
นตั
วละครที่
มี
ความสำคั
ญอย่
างยิ่
ง และเป็
นตั
วละครที่
“ขาดไม่
ได้
” สำหรั
บการแสดงหนั
งตะลุ
ง บทตลกคือเสน่
ห์
หรื
อสี
สั
น ที่
นายหนั
งจะสร้
างความประทั
บใจให้
กั
บคนดู
เมื่
อการแสดงจบลง สิ่
งที่
ผู
้
ชมจำได้ และยั
งเก็
บไปเล่าต่อก็
คือบทตลก นายหนั
งตะลุ
งคนใดที่
สามารถสร้างตั
วตลกได้มี
ชี
วิ
ตชี
วาและน่
าประทั
บใจ สามารถทำให้
ผู
้
ชมนำบทตลก
นั
้
นไปเล่
าขานต่
อได้
ไม่
รู
้
จบ ก็
ถื
อว่
าเป็
นนายหนั
งที่
ประสบ
ความสำเร็
จในอาชีพโดยแท้จริง
หนั
งตะลุ
ง นอกจากจะให้
ความบั
นเทิ
งต่
อผู
้
ชมแล้
ว
สิ่
งที่
ทำให้หนั
งตะลุ
งได้รั
บความนิยมจากอดีตถึงปั
จจุ
บั
น คือ
ปฏิภาณไหวพริบของนายหนั
งตะลุ
งที่
นำเรื่
องราวทางสั
งคม
มาใช้ในการแสดงถ่ายทอดผ่านรู
ปหนั
ง เป็
นคุ
ณค่าที่
สะท้อน
ให้
เห็
นถึ
งบุ
คลิ
กนิ
สั
ยของคนใต้
ที่
ให้
ความสนใจเกี่
ยวกั
บ
เหตุ
การณ์
บ้
านเมื
อง หนั
งตะลุ
งจึ
งมี
ความผู
กพั
นกั
บสั
งคม
วั
ฒนธรรมของชาวใต้
มาทุ
กยุ
คสมั
ย ตั
วอย่
างหนั
งตะลุ
ง
ที่
โดดเด่
น เช่
น
หนั
งอิ่
มเท่
ง จิ
ตต์
ภั
กดี หนั
งฉิ
้
น อรมุ
ต
หนั
งสุ
ชาติ ทรั
พย์สิน หนั
งนครินทร์
ชาทอง
ศิลปินแห่งชาติ
หนั
งศรีพั
ฒน์
เกื้อสกุ
ล หนั
งณรงค์
ตะลุ
งบั
ณฑิต