40
มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม
๒. การร้
อง
โนราแต่ละตั
วจะต้องอวดลีลาการร้อง
ขั
บบทกลอนในลั
กษณะต่
างๆ เช่
น เสี
ยงไพเราะดั
งชั
ดเจน
จั
งหวะการร้องขั
บถู
กต้องเร้าใจ มีปฏิภาณในการคิดกลอน
รวดเร็
ว ได้
เนื
้
อหาดี สั
มผั
สดี มี
ความสามารถในการร้
อง
โต้ตอบ แก้คำอย่
างฉั
บพลั
นและคมคาย เป็
นต้น
๓. การทำบท
เป็
นการอวดความสามารถในการ
ตี
ความหมายของบทร้
องเป็
นท่
ารำ ให้
คำร้
องและท่
ารำ
สั
มพั
นธ์
กั
น ต้
องตี
ท่
าให้
พิ
สดารหลากหลายและครบถ้
วน
ตามคำร้องทุ
กถ้อยคำ ต้องขั
บบทร้องและตีท่ารำให้ประสม
กลมกลื
นกั
บจั
งหวะและลี
ลาของดนตรี
อย่
างเหมาะเหม็
ง
การทำบทจึงเป็
นศิลปะสุ
ดยอดของโนรา
๔. การรำเฉพาะอย่
าง
นอกจากโนราแต่
ละคน
จะต้
องมี
ความสามารถในการรำ การร้
อง และการทำบท
ดั
งกล่
าวแล้
ว ยั
งต้
องฝึ
กการรำเฉพาะอย่
างให้
เกิ
ดความ
ชำนาญเป็
นพิเศษด้วย ซึ่
งการรำเฉพาะอย่
างนี้ อาจใช้แสดง
เฉพาะโอกาส เช่
น รำในพิธีไหว้ครู
ในพิธีแต่
งพอกผู
กผ้าใหญ่
บางอย่
างใช้
รำเฉพาะเมื่
อมี
การประชั
นโรง บางอย่
างใช้
ในโอกาสรำลงครู
หรือโรงครู
หรือในการรำแก้
บน เป็
นต้
น
ตั
วอย่างการรำเฉพาะอย่าง เช่น รำบทครู
สอน รำเพลงทั
บ
เพลงโทน รำเพลงปี ่
รำขอเทริด รำคล้องหงส์
๕. การเล่
นเป็
นเรื่
อง
โดยปกติโนราไม่เน้นการเล่น
เป็
นเรื่
อง แต่ถ้ามีเวลาแสดงมากพอ อาจมีการเล่นเป็
นเรื่
อง
ให้ดู
เพื่
อความสนุ
กสนาน โดยเลือกเรื่
องที่
รู
้ดีกั
นแล้วบางตอน
มาแสดง ไม่
เน้
นการแต่
งตั
วตามเรื่
องแต่
จะเน้
นการตลก
และการขั
บบทกลอนแบบโนราให้ได้เนื้อหาตามท้องเรื่
อง
การแสดงโนราที่
เป็
นงานบั
นเทิ
งทั่
วๆ ไป แต่
ละครั
้
ง
แต่
ละคณะจะมีลำดั
บการแสดงที่
เป็
นขนบนิยม โดยเริ่
มจาก
ตั้
งเครื่
อง
(ประโคมดนตรี
เพื่
อขอที่
ขอทาง เมื่
อเข้
า
โรงแสดงเรี
ยบร้
อยแล้
ว)
โหมโรง กาศครู
หรื
อเชิ
ญครู
(ขั
บร้
องบทไหว้
ครู
กล่
าวถึ
งประวั
ติ
ความเป็
นมาของโนรา
สดุ
ดีต้น (หมายถึง ครู
ต้น ผู
้ให้กำเนิดโนรา คือ นางนวล สำลี
ขุ
นศรีศรั
ทธา ตามตำนานโนรา) และผู
้มีพระคุ
ณทั
้งปวง)
ปล่
อยตั
วนางรำออกรำ
(อาจมีผู
้แสดงจำนวน ๒-๕
คน) ซึ่
งมีขั
้นตอน คือ
เกี้
ยวม่
าน หรือขั
บหน้
าม่
าน
เป็
นการ
ขั
บร้องบทกลอนอยู
่ในม่านกั
้นโดยไม่ให้เห็
นตั
ว/
ออกร่
ายรำ
แสดงความชำนาญและความสามารถในเชิ
งรำเฉพาะตั
ว/
นั่
งพนั
ก ว่
าบทร่
ายแตระ
แล้ว
ทำบท
(ร้องบทและตีท่ารำ
ตามบทนั
้
นๆ) /
ว่
ากลอน
เป็
นการแสดงความสามารถ
เชิ
งบทกลอน (ไม่
เน้
นการรำ) ถ้
าว่
ากลอนที่
แต่
งไว้
ก่
อน
เรี
ยกว่
า “ว่
าคำพรั
ด” ถ้
าเป็
นผู
้
มี
ปฏิ
ภาณมั
กว่
ากลอนสด
เรียกว่
า “ว่
ามุ
ดโต” และ
รำอวดมือ
อีกครั
้งแล้วเข้าโรง
ออกพราน
คื
อ ออกตั
วตลก เป็
นผู
้
มี
ความสำคั
ญ
ในการสร้างบรรยากาศให้ครึกครื้น
ออกตั
วนายโรง หรื
อโนราใหญ่
นายโรงจะอวด
ท่
ารำและการขั
บบทกลอนเป็
นพิ
เศษให้
สมแก่
ฐานะที่
เป็
น
นายโรง ในกรณี
ที่
เป็
นการแสดงประชั
นโรง โนราใหญ่
จะทำพิ
ธี
เฆี่
ยนพราย และเหยี
ยบลู
กนาว เพื่
อเป็
นการ
ตั
ดไม้ข่
มนามคู
่
ต่
อสู
้ และเป็
นกำลั
งใจแก่
ผู
้ร่
วมคณะของตน
ออกพรานอี
กครั
้
ง เพื่
อบอกว่าต่อไปจะเล่นเป็
นเรื่
อง
และจะเล่
นเรื่
องอะไร จากนั
้นจึงเล่
นเป็
นเรื่
อง
ปั
จจุ
บั
นการแสดงโนรายั
งคงมีการแสดงทั
้ง ๒ รู
ปแบบ
ทั
้งเพื่
อความบั
นเทิงและการรำในพิธีกรรม คุ
ณค่าของโนรา
นอกจากเครื่
องแต่
งกายและท่
ารำที่
มี
ความเป็
นเอกลั
กษณ์
เฉพาะแล้
ว โนรายั
งทำหน้
าที่
เป็
น “สื่
อ” เผยแพร่
ให้
ข้
อมู
ล
ข่
าวสารต่
างๆ ให้
ประชาชนได้
รั
บทราบอย่
างทั่
วถึ
ง และ
เข้
าถึ
งชาวบ้
านได้
ง่
าย โนราจึ
งเป็
นศิ
ลปะการแสดงของ
ชาวภาคใต ้
ท ี่
ยั
งคงครองความน ิ
ยมท่
ามกลางกระแส
การเปลี่
ยนแปลงในโลกปั
จจุ
บั
นได้
ดี
ตามสมควร ตั
วอย่
าง
โนราที่
โดดเด่
น เช่
น
คณะครื
้
นน้
อย ดาวรุ
่
ง จั
งหวั
ดตรั
ง
และคณะโนราน้อม โบราณศิลป์
จั
งหวั
ดพั
ทลุ
ง คณะละไม
ศรีรั
กษา จั
งหวั
ดสงขลา