Page 46 - มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม๒๕๕๒

Basic HTML Version

38
มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม
การถื
อปฏิ
บั
ติ
ของโนราแต่
ละสาย สำหรั
บโนราโรงครู
เล็
ใช้เวลา ๑ วั
นกั
บ ๑ คืน โดยปกตินิยมเริ่
มในตอนเย็
นวั
นพุ
แล้วไปสิ้นสุ
ดในวั
นพฤหั
สบดี
โนราเพื่
อความบั
นเทิง
เป็
นการแสดงเพื่
อให้ความ
บั
นเทิงโดยตรง มีลั
กษณะสำคั
ญ ดั
งนี้
๑. การรำ
โนราแต่
ละตั
วต้
องรำอวดความชำนาญ
และความสามารถเฉพาะตน โดยการรำผสมท่
าต่
างๆ
เข้าด้วยกั
นอย่างต่อเนื่
องกลมกลืน แต่ละท่ามีความถู
กต้อง
ตามแบบฉบั
บ มี
ความคล่องแคล่วชำนาญที่
จะเปลี่
ยนลี
ลา
ให้
เข้
ากั
บจั
งหวะดนตรี และต้
องรำให้
สวยงามอ่
อนช้
อย
หรื
อกระฉั
บกระเฉงเหมาะแก่
กรณี บางคนอาจอวดความ
สามารถในเชิ
งรำเฉพาะด้
าน เช่
น การเล่
นแขน การทำให้
ตั
วอ่
อน การรำท่
าพลิกแพลง เป็
นต้น
โนราเป็
นศิ
ลปะการแสดงพื
นบ้
านที่
เป็
นที่
นิ
ยมของ
คนในภาคใต้ องค์
ประกอบหลั
กในการแสดงโนรา คื
เครื่
องแต่
งกาย และเครื่
องดนตรี
เครื่
องแต่
งกายประกอบด้วย เทริด เป็
นเครื่
องประดั
ศีรษะของตั
วนายโรงหรือโนราใหญ่หรือตั
วยืนเครื่
อง เครื่
อง
ลู
กปั
ดร้
อยด้
วยลู
กปั
ดสี
เป็
นลายมี
ดอกดวง ใช้
สำหรั
บสวม
ลำตั
วท่
อนบนแทนเสื
อ ปี
กนกแอ่
นหรื
อปี
กเหน่
ง ทั
บทรวง
ปีกหรือหางหงส์
ผ้านุ
ง สนั
บเพลา ผ้าห้อยหน้า ผ้าห้อยข้าง
กำไลต้
นแขน-ปลายแขน และเล็
บ ทั
งหมดนี
เป็
นเครื่
อง
แต่
งกายของโนราใหญ่
หรือโนรายืนเครื่
อง ส่
วนเครื่
องแต่
งกาย
ของตั
วนางหรือนางรำเรียกว่
า “เครื่
องนาง” ไม่
มีกำไลต้นแขน
ทั
บทรวง และปีกนกแอ่
เคร ื่
องดนตร ี
ของโนรา ส่
วนใหญ่
เป็
นเคร ื่
องตี
ให้
จั
งหวะ ประกอบด้วย ทั
บ (โทนหรือทั
บโนรา) มี ๒ ใบ เสียง
ต่างกั
นเล็
กน้อย ใช้คนตีเพียงคนเดียว เป็
นเครื่
องตีที่
สำคั
ที่
สุ
ด เพราะทำหน้าที่
คุ
มจั
งหวะและเป็
นตั
วนำในการเปลี่
ยน
จั
งหวะทำนองตามผู
้รำ กลองทำหน้าที่
เสริมเน้นจั
งหวะและ
ล้อเสียงทั
บ ปี ่
โหม่
ง หรือฆ้องคู
ฉิ่
ง และแตระ
โนรามี
การแสดง ๒ รู
ปแบบ
คื
อ โนราประกอบ
พิ
ธี
กรรม (โนราโรงครู
) และโนราเพื่
อความบั
นเทิ
ง ซึ่
งมี
ความแตกต่
างกั
น ดั
งนี้
โนราประกอบพิ
ธี
กรรมหร ื
อโนราโรงครู
เป็
พิธีกรรมที่
มีความสำคั
ญในวงการโนราเป็
นอย่างยิ่
ง เพราะ
เป็
นพิ
ธี
กรรมเพื่
อเชิ
ญครู
หรื
อบรรพบุ
รุ
ษของโนรามายั
โรงพิธีเพื่
อไหว้ครู
หรือไหว้ตายายโนรา เพื่
อรั
บของแก้บน และ
เพื่
อครอบเทริดหรือผู
กผ้าแก่ผู
้แสดงโนรารุ
นใหม่
มี ๒ ชนิด
คือ โนราโรงครู
ใหญ่ หมายถึง การรำโนราโรงครู
อย่างเต็
รู
ปแบบ ซึ่
งจะต้องกระทำต่
อเนื่
องกั
น ๓ วั
น ๓ คืน จึงจะจบพิธี
โดยจะเริ่
มในวั
นพุ
ธไปสิ
นสุ
ดในวั
นศุ
กร์
และจะต้
องกระทำ
เป็
นประจำทุ
กปี
หรือทุ
กสามปี
หรือทุ
กห้
าปี
ทั
งนี
ขึ
นอยู
ที่
โนรา