36
มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม
นั
กปราชญ์และผู
้รู
้ด้านนาฏศิลป์ไทยหลายท่านมีความเห็
น
ไปในทำนองเดี
ยวกั
นว่
า “ละครชาตรี
” เป็
นละครที่
อาจจะ
เก่
าแก่
ที่
สุ
ดและน่
าจะเป็
นต้
นแบบของละครร้
อง-รำทั
้
งหมด
ของไทย รวมทั
้งยั
งเป็
นหลั
กฐานที่
สะท้อนให้เห็
นถึงความเชื่
อมโยง
ระหว่
างละครภาคกลางและการแสดงโนราภาคใต้
ได้
ด้
วย
คำว่า “ชาตรี” มีผู
้สั
นนิษฐานไว้หลายทาง เช่น หมายถึง ผู
้รู
้
ศาสตราการ รู
้
วิ
ธี
ป้
องกั
นภยั
นตรายจากศาสตราวุ
ธทั
้
งปวง
หรื
อเป็
นการออกเสี
ยงที่
เพี
้
ยนมาจากคำในภาษาสั
นสกฤตว่
า
“กษั
ตรียะ” ที่
ออกเสียงว่
า “ฉั
ตรียะ” เมื่
อเข้ามาในประเทศไทย
จึ
งออกเสี
ยงเพี
้
ยนไปเป็
น “ชาตรี
” เนื่
องจากเป็
นการแสดงที่
เป็
นเรื่
องราวของกษั
ตริย์หรือมีเครื่
องแต่งกายคล้ายเครื่
องทรง
ของกษั
ตริย์
แต่
โบราณ หรือคำว่
า ชาตรี เพี้ยนมาจาก “ยาตรี”
หรื
อ “ยาตรา” ซึ่
งแปลว่
า เดิ
นทางท่
องเที่
ยวไป ในปั
จจุ
บั
น
อินเดียก็
ยั
งมีละครเร่
ที่
เรียกว่
า “ชาตรี” นี้อยู
่
เป็
นต้น
ละครชาตรีได้แพร่หลายเป็
นที่
นิยมอยู
่ในจั
งหวั
ดภาคใต้
ของไทยก่
อน จากนั
้
นจึ
งเข้
าสู
่
กรุ
งเทพ ๓ ครั
้
งด้
วยกั
น คื
อ
ครั
้
งแรกเมื่
อ พ.ศ. ๒๓๑๒ เมื่
อสมเด็
จพระเจ้
ากรุ
งธนบุ
รี
เสด็
จกรี
ฑาทั
พไปปราบเจ้
านครศรี
ธรรมราชและกวาดต้
อน
ผู
้
คนมาเมื
องหลวงพร ้
อมด้
วยพวกละคร ครั
้
งที่
๒ เมื่
อ
พ.ศ. ๒๓๒๓ ในการฉลองพระแก้วมรกต โปรดให้ละครของ
เจ้านครฯ ขึ ้นมาแสดงและได้แสดงประชั
นกั
บละครผู
้หญิงของ
หลวงด้วย และครั
้งที่
๓ เมื่
อ พ.ศ. ๒๓๗๕ ในสมั
ยรั
ชกาลที่
๓
สมเด็
จเจ้
าพระยาบรมมหาประยุ
รวงศ์ (ดิ
ศ บุ
นนาค) สมั
ยที่
ดำรงตำแหน่
งเป็
นเจ้
าพระยาพระคลั
ง ได้
กรี
ฑาทั
พลงไป
ปราบปรามระงั
บเหตุ
การณ์
ทางหั
วเมืองภาคใต้ ขากลั
บกรุ
งเทพฯ
มี
ผู
้
ที่
มี
ความสามารถในการแสดงละครชาตรี
อพยพติ
ดตาม
กลั
บมาด้
วย และได้
รวบรวมกั
นตั
้
งเป็
นคณะละครรั
บเหมา
แสดงในงานต่างๆ ต่
อมาจนเป็
นที่
ขึ้นชื่
อ และฝึกหั
ดสืบต่
อกั
นมา
จนถึงทุ
กวั
นนี้
ละครชาตรีมีองค์
ประกอบที่
สำคั
ญ ดั
งนี้
๑. โรง ละครชาตร ี
ในครั
้
งโบราณใช ้
เสา ๔ ต ้
น
ปั
ก ๔ มุ
ม เป็
นสี่
เหลี่
ยมจั
ตุ
รั
ส มีเตียง ๑ เตียง และเสากลาง
ซึ่
งถื
อว่
าเป็
นเสามหาชั
ยอี
ก ๑ เสาเท่
านั
้
น ไม่
มี
ฉาก และมี
หลั
งคาไว้บั
งแดดบั
งฝน
๒. ละครชาตรี
แต่
โบราณไม่
สวมเสื
้
อเพราะทุ
กตั
ว
ใช้
ผู
้
ชายแสดง ตั
วยื
นเครื่
องซึ่
งเป็
นตั
วที่
แต่
งกายดี
กว่
าตั
วอื่
น
ละครชาตรี
ก็
นุ
่
งสนั
บเพลา นุ
่
งผ้า
ค า ด เ จ ี
ย ร บ า ด
มี
ห้
อยหน้
า ห้
อย
ข้
าง สวมสั
งวาล
ทั
บทรวง กรอง
คอบนตั
ว เ ปล่
า
บ น ศ ี
ร ษ ะ ส ว ม
เทริด ต่
อมาเมื่
อมี
ผู
้
แสดงเป็
นหญิ
ง
การแต่
งกายจึงมั
กใช้แบบสวมเสื้ออนุ
โลมอย่
างละครนอก
๓. วิ
ธี
แสดง เริ่
มต้
นด้
วยการทำพิ
ธี
บู
ชาครู
เบิ
กโรง
ปี ่
พาทย์
โหมโรงชาตรี ร้องประกาศหน้าบท จากนั
้นตั
วยืนเครื่
อง
ออกมารำซั
ดหน้
าบทตามเพลง โดยการรำเวี
ยนซ้
ายซึ่
งใน
สมั
ยโบราณขณะที่
รำตั
วรำจะต้องว่าอาคมไปด้วยเพื่
อป้องกั
น
เสนียดจั
ญไร เรียกว่า “ชั
กยั
นต์” เริ่
มจั
บเรื่
อง ตั
วละครจะขึ ้น
นั่
งเตียงแสดง เมื่
อเข้าเรื่
อง ตั
วละครต้องร้องเองไม่มีต้นเสียง
ตั
วละครตั
วอื่
นๆ ร้
องรั
บก็
เป็
นลู
กคู
่
และเมื่
อการแสดงจบลง
จะรำซั
ดอี
กครั
้
งหนึ่
ง แต่ครั
้
งนี
้
เป็
นการว่
าอาคมถอยหลั
งและ
รำเวียนขวา เรียกว่
า “คลายยั
นต์
” เป็
นการถอนอาถรรพณ์
ทั
้งปวง
๔. เครื่
องดนตรี
ที่
ใช้
ในการแสดง ประกอบด้
วย ปี ่
สำหรั
บทำทำนอง ๑ เลา โทน ๑ ใบ กลองชาตรี ๒ ใบ และ
ฆ้อง ๑ คู
่
ไม่
มีปี ่
พาทย์
ระนาดเอกอย่างที่
เห็
นในปั
จจุ
บั
น
ละครชาตรี
ได้
ถู
กปรั
บปรุ
งเปลี่
ยนแปลงเรื่
อยมาตาม
ยุ
คสมั
ย เช่
น การร้
องดำเนิ
นเรื่
อง จากเดิ
มที่
เป็
นทำนองของ
โนรา เช่
น เพลงหน้าแตระ เพลงร่
ายชาตรี เปลี่
ยนมาร้องเพลง
ไทยภาคกลางทำนอง ๒ ชั
้นง่
ายๆ มีการเพิ่
มระนาดเอกเข้ามา
เพื่
อจะได้
บรรเลงขั
บร้
องและให้
ตั
วละครรำได้
ดี
ขึ
้
น ไม่
รำซั
ด
ชาตรีไหว้ครู
แต่ใช้กระบวนรำเพลงช้า เพลงเร็
ว และเพลงลา
แทน ซึ่
งในวงการละครรำแก้
บนเร ี
ยกว่
า “รำถวายมื
อ”
ดั
งนั
้น โดยสภาพความเป็
นจริงแล้ว “ละครชาตรี” แบบดั
้งเดิม
ได้สู
ญหายไปจากวงการละครรำของไทยมาไม่
น้อยกว่
า ๔๐ ปีแล้ว
แต่
ละครชาตรี
ที่
เรี
ยกกั
นอยู
่
ในปั
จจุ
บั
นมี
สภาพเป็
นละครรำ
ที่
ใช้
สำหรั
บแก้
บนเท่
านั
้
น ตั
วอย่
างคณะละครชาตรี
ที่
โดดเด่
น
เช่
น
คณะอุ
ดมศิ
ลป์
กระจ่
างโชติ จั
งหวั
ดพระนครศรี
อยุ
ธยา
คณะเบญจา ศิษย์
ฉลองศรี จั
งหวั
ดเพชรบุ
รี