32
มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม
๔. โขนโรงใน
เป็
นศิ
ลปะการผสมผสานระหว่
าง
โขนหน้าจอกั
บละครใน คือเริ่
มมีผู
้แสดงหญิงเข้ามาปะปน มีการ
ออกท่
ารำ เต้
น ผู
้
แสดงเป็
นตั
วพระเริ่
มไม่
ต้
องสวมหั
วโขน
มี
การพากย์
และเจรจาตามแบบโขน นำเพลงขั
บร้
องและ
เพลงดนตรี
แบบละครในและระบำรำฟ้
อนเข้
าผสมด้
วย โขนที่
กรมศิ
ลปากรนำออกแสดงในปั
จจุ
บั
นนี
้ ใช้
ศิ
ลปะการแสดง
แบบโขนโรงใน ไม่
ว่
าจะแสดงกลางแจ้
งหรื
อแสดงหน้
าจอ
ก็
ตาม
๕. โขนฉาก หรือโขนโรง
สั
นนิษฐานว่าเกิดขึ ้นราว
รั
ชกาลที่
๕ โดยมี
ผู
้
คิ
ดสร้
างฉากมาประกอบการแสดง
โขนบนเวทีในโรง (วิก) คล้ายกั
บการแสดงละครดึกดำบรรพ์
การแสดงแบ่
งเป็
นฉากเป็
นตอนและมี
การประดิ
ษฐ์
ฉากขึ
้
น
ประกอบตามท้องเรื่
อง วิธีแสดงดำเนินเช่นเดียวกั
บโขนโรงใน
มีการขั
บร้อง รำ เต้น และมีเพลงหน้าพาทย์
ลั
กษณะที่
สำคั
ญอีกประการหนึ่
งของโขน คือ เครื่
อง
แต่
งกาย แบ่
งออกเป็
น ๓ ฝ่
าย คื
อ ฝ่
ายมนุ
ษย์
-เทวดา
(พระ นาง) ฝ่
ายยั
กษ์
และฝ่
ายล ิ
ง โดยแบ่
งลั
กษณะ
เครื่
องแต่
งกายได้ ๓ ประเภท คื
อ เครื่
องประดั
บศี
รษะ
เสื้อผ้าเครื่
องนุ
่
งห่
ม และเครื่
องประดั
บกายต่
างๆ
การพากย์โขนก็
เป็
นศิลปะสำคั
ญควบคู
่กั
บการแสดงโขน
เพื่
อใช้ในการบรรยายและแสดงอารมณ์
ประกอบตั
วแสดง
บทพากย์
ใช้สำหรั
บเดินเรื่
องการแสดงโขน แต่งด้วย
คำประพั
นธ์
ชน ิ
ดกาพย์
ฉบั
ง ๑๖ หร ื
อกาพย์
ยาน ี ๑๑
บทพากย์
มี
ช ื่
อเร ี
ยกแตกต่
างกั
นออกไป บทเจรจาเป็
น
บทร่
ายยาว ส่
งและรั
บสั
มผั
สกั
นไปเรื่
อยๆ ใช้
ได้
ทุ
กโอกาส
คนพากย์และเจรจานี ้ใช้ผู
้ชายไม่น้อยกว่า ๒ คน เพื่
อจะได้
โต้ตอบกั
นทั
นท่วงที เมื่
อพากย์หรือเจรจาจบกระบวนความ
แล้วต้
องการให้
ปี ่
พาทย์ทำเพลงอะไรก็
ร้
องบอกไป เรียกว่า
“บอกหน้
าพาทย์
” ส่
วนวงดนตรี
ประกอบการแสดงโขน
ใช้ “วงปี ่
พาทย์
” อาจเป็
นวงปี ่
พาทย์
เครื่
องห้
า เครื่
องคู
่
หรือเครื่
องใหญ่
ก็
ได้ตามความเหมาะสม
โอกาสที่
แสดงโขน การแสดงโขนสามารถใช้
แสดง
ได้
หลายวาระ ได้
แก่
แสดงเป็
นมหกรรมบู
ชา เช่
น ในงาน
ถวายพระเพลิ
งพระบรมศพ หรืออั
ฐิ
เจ้
านาย ตลอดจนศพ
ขุ
นนาง หรื
อผู
้
ใหญ่
ที่
เป็
นที่
เคารพนั
บถื
อทั่
วไป แสดงเป็
น
มหรสพสมโภช เช่
น ในงานฉลองปู
ชนี
ยสถาน พระอาราม
หร ื
อสมโภชเจ ้
านายทรงบรรพชา สมโภชในงานเฉลิ
ม
พระชนมพรรษา สมโภชวั
นประสู
ติเจ้านายที่
สู
งศั
กดิ์
เป็
นต้น
และแสดงเป็
นมหรสพเพื่
อความบั
นเทิงในโอกาสทั่
วๆ ไป
นอกจากโขนจะเป็
นการแสดงท ี่
ม ี
องค์
ประกอบ
ทางศิ
ลปะหลายด้
านดั
งกล่
าวข้
างต้
นแล้
ว การแสดงโขน
ยั
งมี
คุ
ณค่
าในการให้
แง่
คิ
ด คติ
เตื
อนใจ คุ
ณธรรม และ
จริยธรรมต่
างๆ ที่
สามารถนำไปประยุ
กต์
ใช้ในชีวิตประจำวั
น
ได้อีกด้วย
ปั
จจุ
บั
นสมเด็
จพระนางเจ้
าฯ พระบรมราชิ
นี
นาถ
ทรงพระกรุ
ณาโปรดเกล้าฯ ให้จั
ดสร้างเครื่
องแต่งกายโขน-
ละครขึ
้
นใหม่
เนื่
องจากทรงมี
พระราชดำริ
ว่
าในปั
จจุ
บั
น
การแสดงโขนถดถอยลงเรื่
อยๆ ทั
้งในเรื่
องความไม่พิถีพิถั
น
และไม่
ให้
รายละเอี
ยดในการปั
ก การถั
ก การแต่
งหน้
า
อี
กทั
้
งอุ
ปกรณ์ที่
ใช้
ในการแสดงมี
ความเก่า ทรุ
ดโทรม เพื่
อ
ตระหนั
กถึงความสำคั
ญของโขนอั
นเป็
นเอกลั
กษณ์ของชาติ
และเพื่
อเป็
นการสืบสานศิลปะงานฝี
มือ เช่น ช่างทำหั
วโขน
ช่
างปั
กสะดึ
งกรึ
งไหม และช่
างเงิ
นช่
างทอง รวมทั
้
งศิ
ลปะ
การแต่งหน้า ที่
แสดงออกถึงความเป็
นศิลปะและวั
ฒนธรรม
ของชาติ
องค์กรที่
ทำหน้าที่
ในการสืบสานศิลปะการแสดงโขน
ได้
อย่
างโดดเด่
น ได้
แก่
กรมศิ
ลปากร และสถาบั
นบั
ณฑิ
ต
พั
ฒนศิลป์
กระทรวงวั
ฒนธรรม