24
มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม
มรดกภู
มิปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม หมายถึง องค์
ความรู
้
หรื
อผลงานที่
เกิ
ดจากบุ
คคล/กลุ
่
มชนที่
ได้
มี
การสร้
างสรรค์
พั
ฒนา สั่
งสม สืบทอด และประยุ
กต์
ใช้ในวิถีการดำเนินชีวิต
มาอย่
างต่
อเนื่
อง และสอดคล้
องเหมาะสมกั
บสภาพสั
งคม
และสิ่
งแวดล้อมของแต่
ละกลุ
่
มชน อั
นแสดงให้เห็
นถึงอั
ตลั
กษณ์
และความหลากหลายทางวั
ฒนธรรม
มรดกภู
มิปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม ประกอบด้วยผลงาน
สร้
างสรรค์
ทางสถาปั
ตยกรรม จิ
ตรกรรม ประติ
มากรรม
หั
ตถกรรม ศิ
ลปะพื
้
นบ้
าน ความรู
้ ความสามารถ ทั
กษะ
วิ
ถี
การปฏิ
บั
ติ
ซึ่
งแสดงออกทางภาษา ศิ
ลปะการแสดง
งานช่
างฝีมือ ความเชื่
อ ประเพณี พิธีกรรม อาหาร เป็
นต้น
โดยที่
สิ่
งต่
างๆ ดั
งกล่
าว ได้
ส่
งผ่
านและสื
บทอดต่
อกั
นมา
รุ
่
นต่
อรุ
่
น เป็
นแนวทางปฏิ
บั
ติ หรื
อในบางเรื่
องเป็
นเสมื
อน
จ ิ
ตว ิ
ญญาณที่
ย ึ
ดถ ื
อร่
วมกั
นของคนในสั
งคม รวมทั
้
ง
ในบางเรื่
องยั
งคงมีความงดงามและมีคุ
ณค่าทางศิลปะสู
งยิ่
ง
ประกาศการขึ้
นทะเบี
ยนมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม
ประจำปี
พ.ศ. ๒๕๕๒
ในอด ี
ตมรดกภู
ม ิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมได ้
รั
บ
การคุ
้มครองบ้างในบางส่
วน เช่
น โบราณสถาน โบราณวั
ตถุ
และศิลปวั
ตถุ
ซึ่
งดำเนินการไปตามพระราชบั
ญญั
ติโบราณ
สถาน โบราณวั
ตถุ
ศิลปวั
ตถุ
และพิพิธภั
ณฑสถานแห่งชาติ
พ.ศ. ๒๕๐๔ แต่
อย่
างไรก็
ตามยั
งม ี
มรดกภู
ม ิ
ปั
ญญา
ทางวั
ฒนธรรมบางส่
วน เช่
น องค์
ความรู
้
ทั
กษะ หร ื
อ
กระบวนการสร้างสรรค์ผลงานทางวั
ฒนธรรม ที่
ยั
งไม่ได้รั
บ
การปกป้องคุ
้มครองอย่
างจริงจั
งและเป็
นระบบ
การปกป้
องคุ
้
มครอง ส่
งเสริ
ม และสื
บทอดมรดก
ภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม เป็
นภารกิ
จสำคั
ญต่
อความเป็
น
มรดกวั
ฒนธรรมของชาติ กระทรวงวั
ฒนธรรมจึ
งประกาศ
บั
ญชีรายชื่
อมรดกภู
มิปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมเพื่
อขึ ้นทะเบียน
คุ
้
มครองเบื
้
องต้
น โดยในปี
พุ
ทธศั
กราช ๒๕๕๒ มี
จำนวน
๒ สาขา คื
อ สาขาศิ
ลปะการแสดง จำนวน ๓ ประเภท
๑๒ รายการ และสาขางานช่
างฝ ี
ม ื
อดั
้
งเด ิ
ม จำนวน
๘ ประเภท ๑๓ รายการ ในการนี
้ กระทรวงวั
ฒนธรรม
มี
แผนในการดำเนิ
นการส่
งเสร ิ
ม สนั
บสนุ
นให้
เกิ
ดการ
แลกเปลี่
ยนเรี
ยนรู
้ และถ่
ายทอดมรดกวั
ฒนธรรมที่
ได้
รั
บ
การประกาศอยู
่
ในบั
ญชี
รายชื่
อ โดยจะใช้
วิ
ธี
การต่
างๆ
ตามความเหมาะสมต่
อไป