มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม
นอกจากนี
้ ในปี
งบประมาณ ๒๕๕๒ สำนั
กงานฯ
ได้เริ่
มจั
ดเก็
บข้อมู
ลด้านวรรณกรรมพื้นบ้านเพิ่
มขึ ้นอีกสาขาหนึ่
ง
และยั
งได้
ผนวกสาขาด้
าน กี
ฬา การละเล่
นพื
้
นบ้
านและ
ศิ
ลปะการป้
องกั
นตั
วขึ
้
นมาอี
กสาขาหนึ่
ง รวมทั
้
งสิ
้
นเป็
น
๖ สาขา
เพื่
อเป็
นการต่อยอดการดำเนินงานโครงการภู
มิบ้าน
ภู
มิ
เมื
อง ในปี
งบประมาณ ๒๕๕๒ สำนั
กงานฯ จึ
งจั
ดทำ
โครงการปกป้
องคุ
้
มครองมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม
ข ึ
้
นโดยมี
กิ
จกรรมสำคั
ญ คื
อ การข ึ
้
นทะเบี
ยนมรดก
ภู
มิปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ในปีแรกนี้
จะดำเนิ
นการในลั
กษณะโครงการนำร่
องก่
อน เนื่
องจาก
การขึ ้นทะเบียนดั
งกล่าวจะเป็
นการขึ ้นทะเบียนเป็
นครั
้งแรก
ในประเทศไทย และเพื่
อให้
การดำเน ิ
นงานบรรลุ
ตาม
วั
ตถุ
ประสงค์ สำนั
กงานฯ จึ
งแต่
งตั
้
งคณะกรรมการจั
ดทำ
เกณฑ์การขึ ้นทะเบียนมรดกภู
มิปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม และ
จั
ดทำ “คู
่
มือการขึ้นทะเบียนมรดกภู
มิปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม
ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๒” ขึ ้น อั
นจะนำไปสู
่การสร้างความรู
้
ความเข ้
าใจ เห็
นคุ
ณค่
า ยอมรั
บในความหลากหลาย
ทางวั
ฒนธรรม และการอยู
่
ร่
วมกั
นอย่
างมี
สั
นติ
สุ
ขของ
คนในสั
งคมต่
อไป
ความหมายของมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม
มรดกภู
มิปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม หมายถึง องค์
ความรู
้
หรื
อผลงานที่
เกิ
ดจากบุ
คคล/กลุ
่
มชนที่
ได้
มี
การสร้
างสรรค์
พั
ฒนา สั่
งสม สืบทอด และประยุ
กต์
ใช้ในวิถีการดำเนินชีวิต
มาอย่
างต่
อเนื่
อง และสอดคล้
องเหมาะสมกั
บสภาพสั
งคม
และสิ่
งแวดล้
อมของแต่
ละกลุ
่
มชน อั
นแสดงให้
เห็
นถึ
ง
อั
ตลั
กษณ์
และความหลากหลายทางวั
ฒนธรรม
มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม ประกอบด้
วย
ผลงานสร ้
างสรรค์
ทางสถาปั
ตยกรรม จ ิ
ตรกรรม
ประต ิ
มากรรม หั
ตถกรรม ศ ิ
ลปะพื
้
นบ้
าน ความรู
้
ความสามารถ ทั
กษะ วิถีการปฏิบั
ติซึ่
งแสดงออกทางภาษา
ศิ
ลปะการแสดง งานช่
างฝี
มื
อ ความเชื่
อ ประเพณี
พิธีกรรม อาหาร เป็
นต้น โดยที่
สิ่
งต่
างๆ ดั
งกล่
าว ได้ส่
งผ่
าน
และสื
บทอดต่
อกั
นมารุ
่
นต่
อรุ
่
น เป็
นแนวทางปฏิ
บั
ติ
หรื
อในบางเรื่
องเป็
นเสมื
อนจิ
ตวิ
ญญาณที่
ยึ
ดถื
อร่
วมกั
น
ของคนในสั
งคม รวมทั
้
งในบางเรื่
องยั
งคงมี
ความงดงาม
และมีคุ
ณค่
าทางศิลปะสู
งยิ่
ง