Page 97 - dcp7

Basic HTML Version

86
วงมโหรี
เรี
ยบเรี
ยงโดย ผู้
ช่
วยศาสตราจารย์
สิ
ทธิ
ศั
กดิ์
จรรยาวุ
ฒิ
วงมโหรี
จั
ดเป็
นวงดนตรี
ของไทยที่
มี
พั
ฒนาการมา
อย่
างต่
อเนื่
อง ดั
งปรากฏในงานจิ
ตรกรรมประติ
มากรรม
ในยุ
คสมั
ยต่
างๆ เช่
น ภาพเขี
ยนลายทองบนตู้
หนั
งสื
ภาพแกะสลั
กการบรรเลงวงมโหรี
เครื่
องสี่
ประกอบด้
วย คน
สี
ซอสามสาย คนดี
ดกระจั
บปี่
คนตี
ทั
บหรื
อโทน และคน
ตี
กรั
บที่
เป็
นผู้
ขั
บลำ
�นำ
� แสดงให้
เห็
นถึ
งความนิ
ยมในการ
บรรเลงวงมโหรี
ที่
มี
มายาวนาน ฯลฯ หลั
กฐานเหล่
านี้
บ่
งชี้
ถึ
งความเจริ
ญและวิ
วั
ฒนาการทางการดนตรี
ของไทย
ได้
เป็
นอย่
างดี
ว่
าชนชาติ
ไทยมี
ความนิ
ยมในการขั
บร้
องและบรรเลงวงมโหรี
ปรากฏเด่
นชั
ดมาแต่
ครั้
งในอดี
ตก่
อนกรุ
สุ
โขทั
ย แม้
ในกฎมณเฑี
ยรบาลในสมั
ยพระบรมไตรโลกนาถ แผ่
นดิ
นกรุ
งศรี
อยุ
ธยา ประมาณปี
พ.ศ. ๑๙๙๑ – ๒๐๓๑
ก็
มี
บั
นทึ
กไว้
ว่
า “ห้
ามร้
องเพลงเรื
อ เป่
าขลุ่
ย เป่
าปี่
สี
ซอ ดี
ดจะเข้
ดี
ดกระจั
บปี่
ตี
โทนตี
ทั
บ ในเขตพระราชฐาน” แสดง
ให้
เห็
นว่
าการบรรเลงเครื่
องดนตรี
ต่
างๆ นั้
นได้
รั
บความนิ
ยมกั
นมากมายจนต้
องห้
ามไว้
ในเขตพระราชฐาน
ในสมั
ยต้
นกรุ
งรั
ตนโกสิ
นทร์
มี
การนำ
�เครื่
องสายมาจั
ดให้
บรรเลงประสมเข้
าด้
วยกั
นกั
บวงปี
พาทย์
โดยการลด
ขนาดสั
ดส่
วนของเครื่
องดนตรี
ประเภทตี
ลง เช่
น ระนาด ฆ้
องวง เพื่
อให้
มี
ความดั
งของเสี
ยงที่
เหมาะสม มี
สุ้
มเสี
ยง
นุ่
มนวลไพเราะอ่
อนหวานน่
าฟั
ง ความดั
งของเสี
ยงเหมาะที
จะใช้
บรรเลงภายในอาคารบ้
านเรื
อน การบรรเลงขั
บกล่
อมใน
งานมงคลต่
างๆ อาทิ
งานมงคลสมรส งานขึ้
นบ้
านใหม่
งานวั
นเกิ
ด งานเลี้
ยงสั
งสรรค์
ต่
างๆ วงมโหรี
แบ่
งเป็
น ๒ ลั
กษณะ
คื
อ วงมโหรี
โบราณ ประกอบด้
วย วงมโหรี
เครื่
องสี่
วงมโหรี
เครื่
องหก วงมโหรี
เครื่
องแปด และวงมโหรี
ที่
เป็
นรู
ปแบบ
ในการบรรเลงในปั
จจุ
บั
น อาทิ
วงมโหรี
วงเล็
ก วงมโหรี
เครื่
องคู่
วงมโหรี
เครื่
องใหญ่
การสื
บทอดและบรรเลงวงมโหรี
ในปั
จจุ
บั
นนั้
นยั
งคงมี
อยู่
แม้
จะไม่
ได้
มี
การนำ
�มารั
บใช้
ในวิ
ถี
ชี
วิ
ตทั่
วๆ ไปของ
ชาวไทยมากมายเช่
นในอดี
ตที
ผ่
านมา แต่
การเรี
ยนการสื
บทอดการบรรเลงวงมโหรี
ของเยาวชนไทยในระดั
บประถมศึ
กษา
มั
ธยมศึ
กษา และอุ
ดมศึ
กษาก็
ยั
งคงมี
ความชั
ดเจนอยู่
ในทุ
กๆ ภู
มิ
ภาคของประเทศไทย โดยได้
รั
บการสนั
บสนุ
นเป็
นอย่
างดี
จากภาครั
ฐและภาคเอกชน และยั
งคงเป็
นเช่
นนี้
ต่
อไปตราบที่
ชาวไทยยั
งคงรั
กและหวงแหนในมรดกภู
มิ
ปั
ญญาของ
บรรพบุ
รุ
ษไทย
วงมโหรี
ได้
รั
บการขึ้
นทะเบี
ยนเป็
นมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมของชาติ
ประจำ
�ปี
พุ
ทธศั
กราช ๒๕๕๖
ที่
มา : สำ
�นั
กการสั
งคี
ต กรมศิ
ลปากร