Page 160 - dcp7

Basic HTML Version

149
ละครใน
ละครใน
หมายถึ
ง การแสดงที่
ดำ
�เนิ
นเป็
นเรื่
องราว โดยใช้
ศิ
ลปะการร่
ายรำ
�ประกอบการขั
บร้
อง และมี
วงปี่
พาทย์
บรรเลง
ประกอบการแสดง ละครในเป็
นละครผู้
หญิ
งที่
มี
กำ
�เนิ
ดใน
ราชสำ
�นั
ก มี
ประวั
ติ
ความเป็
นมาที่
ยาวนานตั้
งแต่
สมั
กรุ
งศรี
อยุ
ธยา เรื่
องที่
ใช้
แสดงมี
เพี
ยง ๔ เรื่
องเท่
านั้
น คื
รามเกี
ยรติ์
อุ
ณรุ
ท ดาหลั
งและอิ
เหนา
ขั้
นตอนและจารี
ตการแสดงละครใน เริ่
มต้
นด้
วย
วงปี
พาทย์
โหมโรงจนจบกระบวนเพลง เว้
นเพลงวา เมื
อจะเริ
มแสดง
ละครจึ
งบรรเลงเพลงวา แล้
วแสดงชุ
ดเบิ
กโรงก่
อน การแสดงชุ
เบิ
กโรงมี
อยู่
๒ แบบ คื
อ “เบิ
กโรงด้
วยระบำ
�” ปั
จจุ
บั
นที่
ยั
งคงอยู่
คื
อ ชุ
ดเบิ
กโรงประเลง เบิ
กโรงรำ
�ดอกไม้
เงิ
นทอง (ตั
แสดงเป็
นตั
วพระ) เบิ
กโรงรำ
�ฉุ
ยฉายดอกไม้
เงิ
นทอง (ตั
วแสดงเป็
นตั
วนาง) เบิ
กโรงอี
กประเภทหนึ่
ง คื
อ “เบิ
กโรง ด้
วย
การแสดงสั้
นๆ” ปั
จจุ
บั
นมี
การสื
บทอดเพี
ยงเรื่
องเดี
ยว คื
อ เบิ
กโรงวสั
นตนิ
ยาย (รามสู
รเมขลา) จากนั้
นจึ
งจั
บเรื่
องใหญ่
แต่
โบราณใช้
เวลาแสดงทั้
งสิ้
นไม่
น้
อยกว่
า ๔ ชั่
วโมง ปั
จจุ
บั
นนิ
ยมแสดงไม่
เกิ
นกว่
า ๒ ชั่
วโมง ดั
งนั้
น การแสดงชุ
ดเบิ
โรงจึ
งหายไปโดยปริ
ยาย
การแสดงละครใน เน้
นกระบวนท่
าร่
ายรำ
�ที
งดงามสอดประสานกั
บการขั
บร้
องและเพลงดนตรี
ที่
มี
จั
งหวะช้
ไม่
มุ่
งเน้
นการดำ
�เนิ
นเรื่
อง ยึ
ดถื
อขนบธรรมเนี
ยมประเพณี
เช่
น การเดิ
นทางของตั
วละครเริ่
มต้
นด้
วยการอาบนํ้
าแต่
งตั
(บทลงสรง) การจั
ดทั
พตรวจพล (บทชมทั
พ) การชมความงามของพาหนะ (บทชมม้
า ชมรถ) การชมความงามของ
ธรรมชาติ
(บทชมดง) ดั
งนั้
น การแสดงละครในในสายตาของผู้
ชมปั
จจุ
บั
นจึ
งค่
อนข้
างช้
า ยื
ดยาด ทำ
�ให้
ละครลดความ
นิ
ยมลง
วงดนตรี
ที่
ใช้
ประกอบการแสดงละครใน โดยปกติ
ใช้
วงปี่
พาทย์
เครื่
องห้
า นิ
ยมตี
ด้
วยไม้
นวม เพื่
อให้
มี
กระแสเสี
ยง
ที่
นุ่
มนวล เพลงร้
องและหน้
าพาทย์
ที่
ใช้
ประกอบการร่
ายรำ
�จากบทละครที่
ปรากฏเป็
นหลั
กฐาน ใช้
เพลงร้
องไม่
มากนั
โดยจะดำ
�เนิ
นเรื่
องด้
วย “เพลงร่
ายใน” เป็
นหลั
กใหญ่
การใช้
เพลงร้
องทำ
�นองต่
างๆ ปรากฏมากขึ้
นในระยะที่
มี
ละคร
ดึ
กดำ
�บรรพ์
เกิ
ดขึ้
นแล้
ว และเป็
นแบบแผนสื
บมาถึ
งปั
จจุ
บั
เรี
ยบเรี
ยงโดย วั
นทนี
ย์
ม่
วงบุ
การแสดงละครในเรื่
อง อิ
เหนา