Page 77 - dcp5

Basic HTML Version

68
ภาษาสะกอม
เรี
ยบเรี
ยงโดย ผู้
ช่
วยศาสตราจารย์
เชิ
ดชั
ย อุ
ดมพั
นธ์
ในภาคใต้
ของประเทศไทย นอกจากภาษาไทยถิ่
นใต้
แล้
วยั
งมี
ภาษาที่
โดดเด่
นอี
ก ๓ ภาษา ได้
แก่
ภาษาตากใบ
(เจ๊
ะเห) ภาษาสะกอม และภาษาพิ
เทน มี
ผู้
สั
นนิ
ษฐานว่
าภาษาทั้
งสามนี้
มี
ความเกี่
ยวข้
องกั
น แต่
ยั
งไม่
ปรากฏหลั
กฐาน
ที่
ชั
ดเจน ภาษาสะกอมเป็
นภาษาไทยถิ่
นที่
ใช้
พู
ดกั
นในพื้
นที่
ตำ
�บลสะกอม อำ
�เภอจะนะและบางส่
วนของอำ
�เภอเทพา
จั
งหวั
ดสงขลา แม้
ว่
าพื้
นที่
ของผู้
พู
ดภาษาสะกอมจะตั้
งอยู่
ในเขตจั
งหวั
ดสงขลา แต่
ภาษาสะกอมกลั
บมี
สำ
�เนี
ยงที่
เป็
เอกลั
กษณ์
และการใช้
คำ
�ศั
พท์
เฉพาะถิ่
นที่
แตกต่
างจากภาษาไทยถิ่
นสงขลาหรื
อภาษาในละแวกใกล้
เคี
ยงอื่
น นอกจากนี้
ภาษาสะกอมยั
งเป็
นภาษาที่
ใช้
ในการแสดงพื้
นบ้
าน “หนั
งตะลุ
ง” (ของคณะตะลุ
งหนั
งกั
น) โดยมี
ตั
วหนั
งชื่
อ “สะหม้
อ”
เป็
นตั
วตลก พู
ดจาด้
วยภาษาสะกอม อิ
ทธิ
พลความขบขั
นสนุ
กสนานของการแสดงหนั
งตะลุ
งนี
เองจึ
งเป็
นเหตุ
ให้
ภาษา
สะกอมด้
วยถู
กเรี
ยกหรื
อรู้
จั
กของคนทั่
วไปด้
วยชื่
อว่
า “ภาษาสะหม้
อ” ตามชื่
อของตั
วหนั
งด้
วย
ชาวบ้
านที่
พู
ดสะกอมเล่
าสื
บต่
อกั
นมาว่
า บรรพบุ
รุ
ษของตนนั
บถื
อศาสนาอิ
สลาม และอพยพมาจากกรุ
งศรี
อยุ
ธยา
ตั้
งแต่
เมื
อครั้
งกรุ
งศรี
อยุ
ธยาแตกเมื่
อประมาณเกื
อบสามร้
อยปี
มาแล้
ว ปั
จจุ
บั
นชาวบ้
านที่
พู
ดสะกอมส่
วนใหญ่
ก็
ยั
งคง
นั
บถื
อศาสนาอิ
สลามเช่
นเดี
ยวกั
บบรรพบุ
รุ
ษ อย่
างไรก็
ตาม ในพื้
นที่
ของภาษาไทยสะกอมยั
งมี
ผู้
คนที่
นั
บถื
อศาสนาพุ
ทธ
และคนไทยเชื้
อสายจี
นอยู่
ด้
วย และทุ
กกลุ่
มต่
างก็
ใช้
ภาษาสะกอมร่
วมกั
น นั
บได้
ว่
าตำ
�บลสะกอมเป็
นพื้
นที่
พหุ
วั
ฒนธรรม
ที่
มี
ภาษาเป็
นแกนกลาง
ภาษาสะกอมประกอบด้
วยประกอบด้
วยเสี
ยงพยั
ญชนะเดี่
ยวจำ
�นวน ๒๓ หน่
วยเสี
ยง เสี
ยงที่
ต่
างจากภาษา
ไทยมาตรฐาน คื
อ เสี
ยง ฆ (เสี
ยงกั
กก้
อง เพดานอ่
อน) และ ญ (เสี
ยงนาสิ
ก เพดานแข็
ง) เสี
ยงพยั
ญชนะทุ
กเสี
ยงทำ
หน้
าที่
เป็
นพยั
ญชนะต้
นได้
ทุ
กเสี
ยง และมี
เสี
ยงที่
ทำ
�หน้
าที่
เป็
นพยั
ญชนะท้
ายได้
เพี
ยง ๙ หน่
วยเสี
ยงเหมื
อนกั
บภาษา
ไทยมาตรฐาน ระบบเสี
ยงสระประกอบด้
วยสระเดี่
ยว (๑๘ หน่
วยเสี
ยง) สระประสม (๓ หน่
วยเสี
ยง) และระบบเสี
ยง
วรรณยุ
กต์
จำ
�นวน ๖ หน่
วยเสี
ยง ระบบคำ
�และการเรี
ยงคำ
� โดยรวมเหมื
อนกั
บภาษาไทยถิ่
นใต้
ทั่
วไป แต่
จะมี
ลั
กษณะ
เฉพาะบางประการในแง่
จำ
�นวนพยางค์
ของคำ
� ซึ่
งมั
กไม่
นิ
ยมตั
ดเสี
ยงของคำ
�ให้
เหลื
อพยางค์
เดี
ยวเหมื
อนภาษาไทยถิ่
ใต้
ทั่
วไป แต่
มั
กจะใช้
เป็
นคำ
�สองพยางค์
เช่
กะเดี
ยว
= เดี
ยว
กะพรก
= กะลา
ชะลุ
= มากมาย
กื
อชะ
= ตะกร้
เป็
นต้
น การเรี
ยงลำ
�ดั
บของคำ
�บางส่
วนก็
จะสลั
บกั
บภาษาไทยถิ
นใต้
ทั่
วไป เช่
น้
อยแล็
= เล็
กน้
อย
หลั
งถอย
= ถอยหลั
เข้
านํ้
= นํ้
าเข้
ร้
อนทุ
กข์
= ทุ
กข์
ร้
อน นอกจากนี้
ภาษาสะกอมยั
งใช้
ศั
พท์
เฉพาะถิ่
นซึ่
งเป็
นเอกลั
กษณ์
ต่
างจาก
ภาษาละแวกใกล้
เคี
ยงอื่
น เช่
ดอย
= ตาย
จะล็
อก
= ล้
อเลี
ยน
ผ้
าปล่
อย
= ผ้
าขาวม้
กะได
= เคย แถลง (พู
ด)
จากั
= สนทนา เป็
นต้