Page 7 - dcp5

Basic HTML Version

คำ
�นำ
ภาษาเป็
นอั
ตลั
กษณ์
ทางวั
ฒนธรรมที่
สำ
�คั
ญที่
สุ
ดอย่
างหนึ่
งของแต่
ละกลุ่
มชน นอกจากจะใช้
ในการสื่
อสาร
ทั่
วไปแล้
ว ภาษายั
งเป็
นแหล่
งรวมของภู
มิ
ปั
ญญาหรื
อองค์
ความรู้
ในการจั
ดการกั
บสิ่
งแวดล้
อมและการดำ
�รงชี
วิ
ตของ
แต่
ละกลุ่
มชนที่
ต่
อเนื่
องกั
นนานนั
บพั
นปี
อย่
างไรก็
ตามในยุ
คของการเปลี่
ยนแปลงทางสั
งคมอย่
างรวดเร็
วในปั
จจุ
บั
ภาษาของกลุ่
มชนต่
าง ๆ อยู่
ในภาวะถดถอยและจำ
�นวนมากอยู่
ในภาวะวิ
กฤตใกล้
สู
ญ อั
นเนื่
องมาจากยุ
คโลกาภิ
วั
ตน์
การสื่
อสารที่
ทรงพลั
ง สามารถเข้
าถึ
งครั
วเรื
อนแม้
ในที่
ห่
างไกล รวมทั้
งอิ
ทธิ
พลทางเศรษฐกิ
จ สั
งคม และการเมื
อง
ในยุ
คโลกาภิ
วั
ฒน์
ก็
ล้
วนทำ
�ให้
ภาษาของกลุ่
มชนทั้
งกลุ่
มเล็
กและกลุ่
มใหญ่
ที่
ไม่
มี
พลั
งทางทางการเมื
องและสั
งคม
ต่
างอยู่
ในภาวะถดถอย ปรากฏการณ์
นี้
เห็
นได้
ชั
ดเจนขึ้
นเรื่
อย ๆ ในระยะกว่
า ๒๐ ปี
ที่
ผ่
านมา จึ
งมี
การคาดคะเน
จากนั
กภาษาศาสตร์
ว่
า หากไม่
มี
การดำ
�เนิ
นการอย่
างไร ภายในศตวรรษนี้
๖๐% – ๙๐% ของภาษาโลกจะเสื่
อมสลายไป
ซึ่
งมี
ผลกระทบโดยตรงต่
อการสู
ญเสี
ยวั
ฒนธรรมและความรู้
ท้
องถิ่
นของชนกลุ่
มต่
าง ๆ
ด้
วยเหตุ
นี
ปั
จจุ
บั
นจึ
งได้
มี
ความพยายามที่
จะปกป้
องรั
กษาภาษาในหลายระดั
บ ตั้
งแต่
ระดั
บท้
องถิ่
น ระดั
บชาติ
จนถึ
งระดั
บนานาชาติ
องค์
กรสหประชาชาติ
เช่
น UNESCO ได้
ยกย่
องให้
ภาษาเป็
นมรดกของมนุ
ษยชาติ
และมี
การ
รณรงค์
อย่
างต่
อเนื่
องเพื่
อให้
มี
การดู
แลรั
กษาภาษาไว้
ให้
ชนรุ่
นหลั
ง เช่
น การเน้
นให้
มี
การนำ
�ภาษาไปใช้
ในการพั
ฒนา
คุ
ณภาพชี
วิ
ตของประชากรในโลก อั
นเป็
นจุ
ดมุ่
งหมายของการพั
ฒนาแห่
งสหั
สวรรษ (Millenium Development
Goals) ในปี
๒๐๑๕ ดั
งเช่
น การพั
ฒนาด้
านการศึ
กษา, สิ่
งแวดล้
อม, ความยากจน เป็
นต้
น อี
กทั้
งการประกาศให้
ปี
๒๐๐๘ เป็
นปี
แห่
งภาษาสากล (International Year of Languages) และการกำ
�หนดให้
วั
นที่
๒๑ กุ
มภาพั
นธ์
ของ
ทุ
กปี
เป็
นวั
นแห่
งการเฉลิ
มฉลองวั
นภาษาแม่
สากล (Mother Language Day) เป็
นต้
สำ
�หรั
บในประเทศไทย ชุ
มชนเจ้
าของภาษาชาติ
พั
นธุ์
หลายกลุ่
มได้
มี
ความพยายามและร่
วมมื
อกั
บนั
กวิ
ชาการ
เพื่
อศึ
กษา อนุ
รั
กษ์
พั
ฒนา และฟื้
นฟู
ภาษาท้
องถิ่
น ซึ่
งเป็
นภาษาแม่
ของตน ทั้
งภาษาพู
ด และภาษาเขี
ยน หรื
อภาษามื
ดั
งตั
วอย่
างการดำ
�เนิ
นงานของศู
นย์
ศึ
กษาและฟื้
นฟู
ภาษาและวั
ฒนธรรมในภาวะวิ
กฤต สถาบั
นวิ
จั
ยภาษาและวั
ฒนธรรม
เอเชี
ย มหาวิ
ทยาลั
ยมหิ
ดล หรื
อมู
ลนิ
ธิ
เพื่
อการศึ
กษาฟื้
นฟู
ภาษาและภู
มิ
ปั
ญญาท้
องถิ่
น เป็
นต้
น แต่
อย่
างไรก็
ตามชุ
มชน
ภาษาต่
าง ๆ ต้
องการกำ
�ลั
งใจและการสนั
บสนุ
นที่
เป็
นรู
ปธรรม เพื่
อให้
สามารถดำ
�เนิ
นการเพื่
อรั
กษาภาษาและองค์
ความรู้
ท้
องถิ่
นของตนไว้
ได้
การส่
งเสริ
ม สนั
บสนุ
น และการขึ้
นทะเบี
ยนภาษาในฐานะที่
เป็
นมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม
ของชาติ
จึ
งเป็
นบทบาทของกรมส่
งเสริ
มวั
ฒนธรรม กระทรวงวั
ฒนธรรม ที่
มี
คุ
ณค่
าทางจิ
ตใจแก่
ชุ
มชนภาษาต่
าง ๆ
เป็
นอย่
างยิ่
(ศาสตราจารย์
เกี
ยรติ
คุ
ณ สุ
วิ
ไล เปรมศรี
รั
ตน์
)
ประธานกรรมการ
ในนามคณะกรรมการผู้
ทรงคุ
ณวุ
ฒิ
มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม
สาขาภาษา