Page 27 - dcp5

Basic HTML Version

18
ภาษาชอง
เรี
ยบเรี
ยงโดย ศาสตราจารย์
สุ
วิ
ไล เปรมศรี
รั
ตน์
คำ
�ว่
า “ชอง” แปลว่
า “คน” ชาวชองเป็
นกลุ่
มคนดั้
งเดิ
มในดิ
นแดนเอเชี
ยอาคเนย์์
สมั
ยอาณาจั
กรเขมร
เป็
นกลุ่
มชนที่
มี
ชื่
อเสี
ยงในการทำ
�กระวาน และเครื่
องเทศต่
าง ๆ ชาวชองและกลุ่
มชนใกล้
เคี
ยง กระจายตั
วอยู่
ใน
ภาคตะวั
นออกของประเทศไทย ได้
แก่
จั
งหวั
ดจั
นทบุ
รี
ตราด ระยอง และฉะเชิ
งเทรา โดยเฉพาะบริ
เวณที่
ต่
อเนื่
อง
กั
บประเทศกั
มพู
ชา ในบางพื้
นที่
จะเรี
ยกคนชองว่
“ชึ่
มช์
อง”
ปั
จจุ
บั
นพบชาวชองอาศั
ยอยู่
หนาแน่
น ในเขตกิ่
งอำ
�เภอ
เขาคิ
ชฌกู
ฎ จั
งหวั
ดจั
นทบุ
รี
ตำ
�บลตะเคี
ยนทอง และตำ
�บลคลองพลู
ส่
วนในเขตตำ
�บลพลวง และในเขตอำ
�เภอโป่
งนํ้
าร้
อน
ยั
งมี
ประชากรที่
พู
ดภาษาชองได้
เพี
ยงไม่
กี่
คน ชาวชองส่
วนมากประกอบอาชี
พทำ
�สวนผลไม้
และยางพารา มี
การ
ทำ
�นาเพื่
อกิ
นในครอบครั
ว ส่
วนการทำ
�กระวานมี
เฉพาะในเขตเขาสอยดาว
ภาษาชอง เป็
นภาษาในตระกู
ลออสโตรเอเชี
ยติ
ก สาขามอญ–เขมร กลุ่
มย่
อยเปี
ยริ
ก ภาษาในสาขาเดี
ยวกั
นที่
มี
ความใกล้
เคี
ยง ได้
แก่
ภาษากะซอง และภาษาซั
มเรที่
พบในจั
งหวั
ดตราด และภาษาซะอุ
ง ที่
พบในจั
งหวั
ดกาญจนบุ
รี
ภาษาชองมี
ระบบเสี
ยงที่
แสดงลั
กษณะของภาษากลุ่
มมอญ-
เขมรที่
ชั
ดเจน โดยมี
พยั
ญชนะต้
น (๒๒ ตั
ว) พยั
ญชนะสะกด
(๑๑ ตั
ว) โดยเฉพาะอย่
างยิ่
งการใช้
ตั
วสะกด จ ญ และ ฮ
เป็
นต้
น และมี
ลั
กษณะนํ้
าเสี
ยงที่
โดดเด่
น แทนการมี
เสี
ยง
วรรณยุ
กต์
ดั
งในภาษาไทย ภาษาชองไม่
มี
วรรณยุ
กต์
แต่
มี
ลั
กษณะนํ้
าเสี
ยง ๔ ลั
กษณะ ได้
แก่
๑) ลั
กษณะนํ้
าเสี
ยงกลางปกติ
เช่
กะวาญ
= กระวาน,
กะปาว
= ควาย
๒) ลั
กษณะนํ้
าเสี
ยงตํ่
าใหญ่
(เสี
ยงก้
องมี
ลม) เช่
กะว่
าย
= เสื
อ,
มะง่
าม
= ผึ้
๓) ลั
กษณะนํ้
าเสี
ยงสู
งบี
บ (เสี
ยงปกติ
ตามด้
วยการกั
ของเส้
นเสี
ยง) เช่
ค้
อน
= หนู
,
ซู้
= มด
๔) ลั
กษณะนํ้
าเสี
ยงตํ่
ากระตุ
ก (เสี
ยงก้
องมี
ลมตามด้
วย
การกั
กของเส้
นเสี
ยง) เช่
ช์
อง
= ชอง,
เม์
= ปลา
ระบบเขี
ยนภาษาชองที่
สร้
างขึ้
นโดยชาวชองและนั
กวิ
ชาการ