Page 10 - dcp5

Basic HTML Version

1
บทนำ
การขึ้
นทะเบี
ยนมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมของชาติ
มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม เป็
นสมบั
ติ
อั
นลํ้
าค่
าที่
บรรพบุ
รุ
ษได้
สร้
างสรรค์
สั่
งสม และสื
บทอดมาถึ
งลู
กหลาน
รุ่
นต่
อรุ่
น มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรม หมายถึ
ง การปฏิ
บั
ติ
การเป็
นตั
วแทน การแสดงออก ความรู้
ทั
กษะ ตลอดจน
เครื่
องมื
อ วั
ตถุ
สิ่
งประดิ
ษฐ์
และพื้
นที่
ทางวั
ฒนธรรมที่
เกี่
ยวเนื่
องกั
บสิ่
งเหล่
านั้
น ซึ่
งชุ
มชน กลุ่
มชน และในบางกรณี
ปั
จเจกบุ
คคล ยอมรั
บว่
าเป็
นส่
วนหนึ่
งของมรดกทางวั
ฒนธรรมของตน มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมซึ่
งถ่
ายทอด
จากคนรุ่
นหนึ่
งไปยั
งคน อี
กรุ่
นหนึ่
งนี
เป็
นสิ่
งซึ่
งชุ
มชนและกลุ่
มชนสร้
างขึ้
นใหม่
อย่
างสมํ่
าเสมอ เพื่
อตอบสนองต่
สภาพแวดล้
อมของตน เป็
นปฏิ
สั
มพั
นธ์
ที่
กลุ่
มชนมี
ต่
อธรรมชาติ
สั
งคม และประวั
ติ
ศาสตร์
ของตน และทำ
�ให้
กลุ่
มชน
เกิ
ดความรู้
สึ
ก สำ
�นึ
กในอั
ตลั
กษณ์
ทางวั
ฒนธรรมของตน
การประกาศขึ้
นทะเบี
ยนมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมของชาติ
เป็
นหนทางหนึ่
งในการปกป้
องคุ้
มครองเพื่
ไม่
ให้
เกิ
ดการสู
ญเสี
ย อั
ตลั
กษณ์
และสู
ญเสี
ยภู
มิ
ปั
ญญาที่
เป็
นองค์
ความรู้
ทางวั
ฒนธรรมซึ่
งเป็
นข้
อมู
ลสำ
�คั
ญของ
ประเทศชาติ
และยั
งเป็
นหนทางหนึ่
งในการประกาศความเป็
นเจ้
าของมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมต่
างๆ ในขณะที่
ยั
ไม่
มี
มาตรการทางกฎหมายที่
จะคุ้
มครองมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมของชาติ
ทั้
งนี้
ภาษา เป็
น ๑ ใน ๗ สาขาของ
มรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมที่
กรมส่
งเสริ
มวั
ฒนธรรมประกาศขึ้
นทะเบี
ยนมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมของชาติ
ความหมายของภาษา
ภาษา หมายถึ
ง เครื่
องมื
อที่
ใช้
สื่
อสารในวิ
ถี
การดำ
�รงชี
วิ
ตของชนกลุ่
มต่
างๆ ซึ่
งสะท้
อน โลกทั
ศน์
ภู
มิ
ปั
ญญาและ
วั
ฒนธรรมของแต่
ละกลุ่
มชน ทั้
งเสี
ยงพู
ด ตั
วอั
กษร หรื
อสั
ญลั
กษณ์
ที่
ใช้
แทนเสี
ยงพู
ประเภทของภาษา
๑. ภาษาไทย
หมายถึ
ง ภาษาประจำ
�ชาติ
หรื
อภาษาราชการที่
ใช้
ในประเทศไทย
๒. ภาษาท้
องถิ่
หมายถึ
ง ภาษาที่
ใช้
สื่
อสารในท้
องถิ่
นใดท้
องถิ่
นหนึ่
งและมั
กเป็
นภาษาแม่
ของคนในท้
องถิ่
นนั้
ในประเทศไทยมี
ภาษาท้
องถิ่
นทั้
งที่
เป็
นภาษาตระกู
ลไทและภาษาตระกู
ลอื่
นๆ แบ่
งออกเป็
น ภาษาไทยถิ่
นตามภู
มิ
ภาค
ซึ่
งเป็
นภาษาที่
ใช้
สื่
อสารในแต่
ละภู
มิ
ภาคของประเทศไทย เช่
น ภาษาไทยกลาง ภาษาไทยถิ่
นอี
สาน ภาษาไทยถิ่
นเหนื
ภาษาไทยถิ่
นใต้
และภาษาชาติ
พั
นธ์ุ
ซึ่
งเป็
นภาษาที่
ใช้
สื่
อสารในชุ
มชนท้
องถิ่
นต่
างๆ ของประเทศไทย เช่
น ภาษาเขมร
ถิ่
นไทย ภาษามลายู
ปาตานี
ภาษาม้
ง ภาษาอาข่
า ภาษาชอง ภาษามอแกน ภาษาลื้
อ ภาษายอง ภาษาญ้
อ ภาษาภู
ไท
ภาษาพวน ภาษาไทยเบิ้
ง/เดิ้
ง หรื
อภาษาไทยโคราช เป็
นต้
๓. ภาษาสั
ญลั
กษณ์
หมายถึ
ง ภาษาที่
ใช้
ติ
ดต่
อสื่
อสารด้
วยภาษามื
อภาษาท่
าทาง หรื
อเครื่
องหมายต่
างๆ เป็
นต้