Page 127 - dcp4

Basic HTML Version

116
ประเพณี
เทศกาลสงกรานต์
ของไทย มี
กิ
จกรรมที่
ยึ
ดถื
อแนวปฏิ
บั
ติ
ที่
สื
บทอดกั
นมาหลายชั่
วคน แตกต่
างกั
ตามความเชื่
อและแนวปฏิ
บั
ติ
ของคนไทยแต่
ละภู
มิ
ภาค โดยมี
กิ
จกรรมที่
สำ
�คั
ญ ดั
งนี้
การชำ
�ระล้
างความสกปรกและ
ขั
บไล่
สิ่
งไม่
ดี
ออกไป ได้
แก่
การทำ
�ความสะอาดบ้
านเรื
อน วั
ดวาอาราม ตลอดจนสาธารณสมบั
ติ
ในบางถิ่
นมี
การ
อาบนํ้
าสระผมในลั
กษณะเป็
นพิ
ธี
กรรม มี
การนิ
มนต์
ให้
พระสงฆ์
สวดมนต์
ขั
บไล่
สิ่
งชั่
วร้
ายและเกิ
ดสิ
ริ
มงคล การไปวั
ดเพื่
แสดงคารวะต่
อพระรั
ตนตรั
ย และทำ
�บุ
ญอุ
ทิ
ศส่
วนกุ
ศลให้
ญาติ
ที่
ล่
วงลั
บไปแล้
ว การแสดงคารวะหรื
อ ขออโหสิ
กรรม
จากผู้
อาวุ
โส หรื
อผู้
มี
พระคุ
ณด้
วยการมอบดอกไม้
เสื้
อผ้
าและนํ้
าหอม รวมทั้
งการแสดงความปรารถนาดี
ต่
อกั
นด้
วย
การอวยพรและรดนํ้
า ตลอดจนการรื่
นเริ
งสนุ
กสนาน มี
การละเล่
นของหนุ่
มสาว โดยบางท้
องถิ่
นจะทำ
�ความสะอาด
สถานที่
และจั
บจ่
ายในวั
นที่
๑๓ วั
นที่
๑๔ เป็
นวั
นสุ
กดิ
บ มี
การทำ
�อาหาร เพื่
อเตรี
ยมที่
จะทำ
�บุ
ญ ส่
วนวั
นที่
๑๕ เป็
นการไป
ทำ
�บุ
ญที่
วั
ด หลั
งจากนั้
นก็
ไปคารวะผู้
ใหญ่
การสาดนํ้
าจะเริ่
มตั้
งแต่
วั
นที่
๑๓ – ๑๕ เมษายน บางแห่
งอาจต่
อเนื่
อง
ไปอี
ก ๒ – ๓ วั
สงกรานต์
ถื
อเป็
นประเพณี
ที่
งดงามมี
คุ
ณค่
า สะท้
อนถึ
งความเป็
นไทย เป็
นช่
วงเวลาแห่
งการรั
กษากายใจและ
สิ่
งแวดล้
อม เป็
นโอกาสของการแสดงความกตั
ญญู
และความปรารถนาดี
ต่
อผู้
มี
พระคุ
ณ การแสดงความเอื้
ออาทรต่
ครอบครั
ว ญาติ
มิ
ตรและชุ
มชน
สงกรานต์
ได้
รั
บการขึ้
นทะเบี
ยนเป็
นมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมของชาติ
ประจำ
�ปี
พุ
ทธศั
กราช ๒๕๕๔