Page 98 - dcp3

Basic HTML Version

87
เรื
อกอและ
เรี
ยบเรี
ยงโดย รองศาสตราจารย์
วุ
ฒิ
วั
ฒนสิ
เรื
อกอและเดิ
มเป็
นเรื
อขุ
ด ซึ่
งใช้
ไม้
ใหญ่
มาขุ
ดเป็
นลำ
�เรื
อ ในสมั
ยก่
อนเรื
อกอและ
ทุ
กลำ
�เป็
นเรื
อหั
วยาว ท้
ายยาว ไม่
มี
การเขี
ยนลวดลายใด ๆ ทั้
งสิ้
น สามารถนำ
�ออกทำ
�การ
ประมงชายฝั่
งได้
ต่
อมาไม้
หายากขึ้
นจึ
งเปลี่
ยนจากขุ
ดมาเป็
นเรื
อที่
ต่
อขึ้
นด้
วยไม้
กระดาน
และสามารถชั
กใบเรื
อเพื่
อนำ
�ออกทะเลในเวลาเช้
า และกลั
บเข้
าฝั่
งในเวลาบ่
าย เรื
อกอและ
ในปั
จจุ
บั
นได้
เปลี่
ยนแปลงแบบไปจากซึ่
งเคยมี
หั
วเรื
อและท้
ายเรื
อเชิ
ดสู
งขึ้
น กลายเป็
นหั
เรื
อสั้
น และท้
ายตั
ดไว้
สำ
�หรั
บตั
งเครื่
องยนต์
ซึ่
งมี
ชื่
อเรี
ยกว่
า “ปาตะกื
อระ (ท้
ายตั
ด)”
ส่
วนประกอบอื่
นที่
แสดงเอกลั
กษณ์
ของเรื
อกอและไม่
เคยเปลี่
ยนแปลงคื
อ การตกแต่
ลวดลายจิ
ตรกรรมที่
วิ
จิ
ตรพิ
สดารบนเรื
อกอและแต่
ละลำ
เรื
อกอและเกิ
ดขึ้
นก่
อนสมั
ยสุ
โขทั
ย แต่
เดิ
มเรื
อกอและใช้
ในการทำ
�ศึ
กสงคราม
ปั
จจุ
บั
นใช้
เป็
นพาหนะในการเดิ
นทางและการประมง วิ
ธี
การต่
อเรื
อกอและ จะเริ่
มจาก
การตั้
งกระดู
กงู
การต่
อลำ
�เรื
อ การวางกง การวางโครงเรื
อ การปิ
ดส่
วนหั
วและส่
วนท้
าย
การทำ
�ส่
วนประกอบต่
าง ๆ และการอุ
ดรอยรั่
วของลำ
�เรื
การตกแต่
งลวดลายจิ
ตรกรรมบนเรื
อกอและเริ่
มมี
ขึ้
นเมื่
อไม่
เกิ
น ๑ ศตวรรษ
ที่
ผ่
านมา การตกแต่
งลวดลายเริ่
มจากการแกะสลั
ก การฉลุ
ลายและระบายสี
ตาม
ลำ
�ดั
บ ส่
วนประกอบของเรื
อกอและที่
มี
การตกแต่
งลวดลายจิ
ตรกรรม ได้
แก่
กราบ
เรื
อด้
านบนและด้
านล่
าง ดาวะปาลอ (ใบหั
วเรื
อ) บางา จาปิ
ง และแนแบงเดะ (ส่
วน
ประกอบที่
ปิ
ดช่
วงหั
วเรื
อกั
บส่
วนลำ
�เรื
อ) ซางอ (ส่
วนประกอบที่
วางเสากระโดงเรื
หรื
อหางเสื
อเรื
อ) ท้
ายเรื
อภายใน ท้
ายเรื
อภายนอก และรอแย (ส่
วนประกอบที่
ใช้
ยึ
ดกั
บหางเสื
อ) วั
สดุ
อุ
ปกรณ์
ที่
ใช้
ในการตกแต่
งลวดลายจิ
ตรกรรมบนเรื
อ ประกอบด้
วย แปรงทาสี
พู่
กั
นแบน ดิ
นสอ ภาชนะใส่
สี
นํ้
ามั
นก๊
าด
ผ้
าเช็
ดสี
จานสี
และสี
นํ้
ามั
นกระป๋
อง มี
ขั้
นตอนการตกแต่
งเริ่
มจาก การรองพื้
นสี
การร่
างภาพและการระบายสี
ลวดลายจิ
ตรกรรมที่
ตกแต่
งบนเรื
อกอและเป็
นวั
ฒนธรรมสั
มพั
นธ์
ระหว่
าง
ศิ
ลปะไทย ศิ
ลปะอิ
สลาม และศิ
ลปะจี
น ลวดลายส่
วนใหญ่
เป็
นลวดลาย
พรรณไม้
แบบเถาเลื้
อยและลายหน้
ากระดานภาพจิ
ตรกรรมส่
วนใหญ่
เป็
นภาพสั
ตว์
ในจิ
ตนาการจากประเพณี
ท้
องถิ่
น ศาสนา วรรณคดี
และ
ศิ
ลปะการแสดง นอกจากนี้
ยั
งมี
ภาพสั
ตว์
หิ
มพานต์
สั
ตว์
ในจิ
ตนาการของจี
ภาพสั
ตว์
นํ้
า และภาพทิ
วทั
ศน์
เรื
อกอและ ได้
รั
บการขึ้
นทะเบี
ยนเป็
นมรดกภู
มิ
ปั
ญญาทางวั
ฒนธรรมของ
ชาติ
ประจำ
�ปี
พุ
ทธศั
กราช ๒๕๕๔