Page 21 - dcp3

Basic HTML Version

10
ผ้
าทอเกาะยอ
เรี
ยบเรี
ยงโดย ณั
ฏฐภั
ทร จั
นทวิ
ช และสำ
�นั
กงานวั
ฒนธรรมจั
งหวั
ดสงขลา
ผ้
าทอเกาะยอ หรื
อผ้
าเกาะยอ เป็
นผ้
าทอพื้
นเมื
องของชาวตำ
�บลเกาะยอ อำ
�เภอเมื
องสงขลา จั
งหวั
ดสงขลามี
ชื่
เสี
ยงมากจั
ดเป็
นหั
ตถกรรมพื้
นบ้
านที่
เป็
นเอกลั
กษณ์
สำ
�คั
ญยิ่
งของเกาะยอ ซึ่
งเป็
นเกาะเล็
กๆ ในทะเลสาบสงขลาห่
าง
จากตั
วเมื
องสงขลาประมาณ ๖ กิ
โลเมตร ประกอบด้
วย ๙ หมู่
บ้
าน ชาวเกาะยอส่
วนใหญ่
อพยพมาจากตำ
�บลนํ้
าน้
อย
อำ
�เภอหาดใหญ่
และจากตำ
�บลท่
งุ
หวงั
อำ
�เภอเมื
องสงขลา ประชากรส่
วนใหญ่
นั
บถื
อ ศาสนาพุ
ทธ อาชี
พสำ
�คั
ญคื
การประมง การทำ
�สวนผลไม้
และการทอผ้
า เรี
ยกว่
า “ผ้
าทอเกาะยอ” ชาวเกาะยอรู้
จั
กวิ
ธี
ทอผ้
ามาตั้
งแต่
ครั้
งที่
มี
คน
อพยพมาตั้
งถิ่
นฐานทำ
�มาหากิ
นอยู่
บนเกาะ และมี
การสอนสื
บต่
อกั
นภายในครั
วเรื
อน การทอผ้
าของเมื
องสงขลาคงมี
ความสั
มพั
นธ์
กั
บการทอผ้
าของเมื
องนครศรี
ธรรมราช มี
การถ่
ายทอดโดยครู
ทอผ้
ากลุ่
มเดี
ยวกั
น จากหลั
กฐานพบว่
าใน
สมั
ยกรุ
งธนบุ
รี
มี
การเกณฑ์
ช่
างทอผ้
าจากเมื
องสงขลาไปยั
งเมื
องนครศรี
ธรรมราช พ.ศ.๒๓๑๐ ด้
วย ทั้
งนี้
เจ้
าพระยา
นครศรี
ธรรมราชได้
มี
หนั
งสื
อให้
กรมการเมื
องออกไปนำ
�ผู้
หญิ
งช่
างทอหู
ก (ทอผ้
า) บุ
ตรสาวกรมการเมื
องสงขลาและ
บุ
ตรสาวราษฎรเมื
องสงขลา พาไปเมื
องนครศรี
ธรรมราชหลายสิ
บคน หลวงสุ
วรรณคี
รี
สมบั
ติ
เจ้
าเมื
องสงขลาได้
นำ
ความขึ้
นกราบบั
งคมทู
ลสมเด็
จพระเจ้
ากรุ
งธนบุ
รี
หรื
อสมเด็
จพระเจ้
าตากสิ
นมหาราช (พ.ศ.๒๓๑๐-๒๓๒๕) ว่
าเจ้
าเมื
อง
นครศรี
ธรรมราชใช้
อำ
�นาจกั
บเมื
องสงขลามากเกิ
นไป จึ
งไม่
ขอขึ้
นกั
บเมื
องนครศรี
ธรรมราชอี
กต่
อไป สมเด็
จพระเจ้
กรุ
งธนบุ
รี
จึ
งโปรดเกล้
าฯ ให้
มี
ตราออกไปยั
งเมื
องนครศรี
ธรรมราชให้
ยกเมื
องสงขลาขึ้
นกั
บกรุ
งธนบุ
รี
โดยตรง
การทอผ้
าเกาะยอใช้
กี่
ทอเป็
นกี่
มื
อและใช้
“ตรน” แทนกระสวย ย้
อมผ้
าเองโดยใช้
สี
ที่
ได้
จากธรรมชาติ
ตามแบบ
พื้
นบ้
าน ส่
วนมากจะได้
จากต้
นไม้
เช่
น เปลื
อก แก่
น ราก ลำ
�ต้
นและผล เช่
นสี
แดงได้
จากรากยอและอิ
ฐสี
ตองอ่
อนได้
จากผลแถลงหรื
อมะพู
ด สี
เหลื
องได้
จากขมิ้
นชั
น แก่
นเข (แกแล) สี
ส้
ม (แดงเลื
อดนก) ได้
จากสะตี
สี
ลู
กหว้
า (ม่
วงอ่
อน)
ได้
จากลู
กหว้
า สี
เขี
ยวได้
จากเปลื
อกสมอ ใบหู
กวาง ครามแล้
วย้
อมทั
บด้
วยนํ้
าจากผลแถลงอี
กที
หนึ่
ง สี
ครามได้
จาก
ต้
นคราม ผ้
าทอเกาะยอทอมี
ทั้
งผ้
าพื้
นและ ผ้
ายกดอกลวดลายต่
างๆ บ้
าง พ.ศ. ๒๔๗๕ กล่
าวว่
าชาวบ้
านเกาะยอได้
นำ
ผ้
าทอ เกาะยอลายคอนกเขา หรื
อลายก้
านแย่
งขึ้
นทู
ลเกล้
าฯ ถวายพระบาทสมเด็
จพระปกเกล้
าเจ้
าอยู่
หั
ว รั
ชกาลที่
ซึ่
งพระองค์
ได้
พระราชทานนามใหม่
ว่
า ลายราชวั
ตถ์
นอกจากนี้
มี
บั
นทึ
กว่
า พ.ศ. ๒๔๘๒ กรมการเมื
องสงขลาได้
ขอครู
ทอผ้
าชาวจี
น ๒ คน ชื่
อนายยี่
สุ่
นและนายพุ
ดดิ้
นจากเมื
องเซี่
ยงไฮ้
ให้
มาสอนการทอผ้
าด้
วยกี่
กระตุ
กให้
ชาวเกาะยอที่
วั
ดแหลมพ้
อหรื
อวั
ดหั
วแหลม และเปลี่
ยนการย้
อมจากสี
ธรรมชาติ
เป็
นสี
เคมี
แต่
สี
คุ
ณภาพไม่
ดี
พอ ทำ
�ให้
เส้
นใยด้
ายแข็
เมื่
อทอเป็
นผื
นผ้
าแล้
วเนื้
อผ้
าหยาบ ผ้
ายั
บง่
าย สี
ตก ผ้
าทอมื
อจึ
งแข่
งกั
บตลาดผ้
าจากโรงงานไม่
ได้
หลั
งสงครามโลก
ครั้
งที่
๒ ผ้
าจากต่
างประเทศได้
รั
บความนิ
ยมมากขึ้
น เพราะราคาถู
ก เนื้
อนิ่
มไม่
ยั
บง่
ายเหมื
อนผ้
าทอเกาะยอ จึ
งทำ
�ให้
ผ้
าทอเกาะยอไม่
ได้
รั
บความนิ
ยม ขายไม่
ได้
จึ
งเลิ
กทอและถู
กลื
มไปกว่
า ๓๐ ปี