Page 255 - บูรพศิลปิน58

Basic HTML Version

240
บู
รพศิ
ลปิ
น พ.ศ. ๒๕๕๘
พระเจนดุ
ริ
ยางค์
(ปิ
ติ
วาทยะกร)
เกิ
๑๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๒๖ ที่
กรุ
งเทพมหานคร
ถึ
งแก่
กรรม
๒๕ ธั
นวาคม พ.ศ. ๒๕๑๑
ยุ
คสมั
รั
ตนโกสิ
นทร์
(รั
ชกาลที่
๕ - รั
ชกาลที่
๙)
ประวั
ติ
และการทำ
�งาน
พระเจนดุ
ริ
ยางค์
เดิ
มชื่
อ ปี
เตอร์
ไฟท์
(Peter Feit) ต่
อมาเปลี่
ยน
ชื่
อเป็
นไทยว่
“ปิ
ติ
และได้
รั
บพระราชทานนามสกุ
ลจากพระบาทสมเด็
พระมงกุ
ฎเกล้
าเจ้
าอยู่
หั
วว่
“วาทยะกร”
เป็
นบุ
ตรของ นาย ยาก็
อบ ไฟท์
(Jacob Feit) ชาวเยอรมั
น และนางทองอยู่
วาทยะกร เรี
ยนหนั
งสื
อที่
โรง
เรี
ยนอั
สสั
มชั
ญ เมื่
ออายุ
๗ ปี
และเรี
ยนดนตรี
จากบิ
ดา เมื่
ออายุ
๑๐ ปี
ฝึ
กไวโอลิ
น ซอเซลโล เปี
ยโน มาโดยลำ
�ดั
บ และศึ
กษาหาความรู้
ด้
วยตนเองทั้
ทฤษฎี
และปฏิ
บั
ติ
เดิ
นทางไปศึ
กษาต่
อมหาวิ
ทยาลั
ยดนตรี
เฟรเดริ
ก ชอแป็
ที่
กรุ
วอร์
ซอ ประเทศโปแลนด์
ทำ
�งานครั้
งแรกเป็
น ครู
สอนภาษาอั
งกฤษ
ที่
โรงเรี
ยนอั
สสั
มชั
ญ ต่
อมาเข้
ารั
บราชการที่
กรมรถไฟหลวง แผนกกองเดิ
นรถ จนได้
รั
บบรรดาศั
กดิ์
เป็
“ขุ
นเจนรถรั
ฐ”
พระบาทสมเด็
จพระมงกุ
ฎเกล้
าเจ้
าอยู่
หั
ว โปรดให้
โอนมาอยู่
กรมมหรสพ ตำ
�แหน่
งผู้
ช่
วยปลั
ดกรม
กองเครื่
องสายฝรั่
งหลวง เป็
นผู้
ฝึ
กนั
กดนตรี
ได้
รั
บบรรดาศั
กดิ์
เป็
“หลวงเจนดุ
ริ
ยางค์
และเป็
นปลั
ดกรม บรรดาศั
กดิ์
เป็
“พระเจนดุ
ริ
ยางค์
วงดนตรี
ภายใต้
การดู
แลของพระเจนดุ
ริ
ยางค์
นี้
ได้
บรรเลงเพลงชั้
นสู
งพวก Symphony
ตลอดจนแสดงมหาอุ
ปรากร (Opera) จนกระทั่
งเมื่
อพระบาทสมเด็
จพระปกเกล้
าเจ้
าอยู่
หั
วทรงสละราชสมบั
ติ
กิ
จการ
ของวงดนตรี
สากลก็
ย้
ายมาอยู่
ในสั
งกั
ดกรมศิ
ลปากร ต่
อมาท่
านย้
ายมาประจำ
�กองทั
พอากาศ จนเกษี
ยณอายุ
ราชการ
จากนั้
นได้
รั
บเชิ
ญเป็
นอาจารย์
ในมหาวิ
ทยาลั
ยศิ
ลปากร ประจำ
�แผนกดุ
ริ
ยางคศิ
ลป์
และเมื่
อ พ.ศ. ๒๔๙๓ กรมตำ
�รวจ
ได้
เชิ
ญไปช่
วยก่
อตั้
งวงดุ
ริ
ยางค์
และทำ
�งานด้
านดนตรี
จนถึ
งแก่
กรรมด้
วยโรคชรา รวมอายุ
ได้
๘๕ ปี
๕ เดื
อน ๑๒ วั
ท่
านได้
ชื่
อว่
าเป็
“บิ
ดาแห่
งโน้
ตสากล”
ผู้
วางรากฐานทางดนตรี
สากลของไทย สร้
างผลงานมากมายทั้
งการ
สร้
างนั
กดนตรี
การประพั
นธ์
ทำ
�นองเพลง แต่
งตำ
�ราวิ
ชาการดนตรี
ฯลฯ ท่
านสร้
างชื่
อเสี
ยงให้
แก่
ประเทศไทย นำ
�วงดนตรี
บรรเลงในงานต่
างๆ ได้
รั
บยกย่
องและคำ
�ชมเชยจากชาวต่
างประเทศเป็
นอย่
างมากในช่
วงสมั
ยรั
ชกาลที่
๖ จนได้
ชื่
อว่
เป็
นวงดนตรี
ที่
เก่
งที่
สุ
ดในภาคตะวั
นออกไกล เมื่
อครั้
งบรรเลง Symphony Concert ที่
ศาลาสหทั
ยและโรงโขนมิ
สกวั
แม้
กิ
จการดนตรี
ซบเซาลงในช่
วงรั
ชกาลที่
๗ ท่
านก็
ยื
นหยั
ดต่
อสู้
และฟั
นฝ่
าจนทำ
�ให้
วงดนตรี
สากลคงอยู่
ต่
อไป นอกจากนี้
ท่
านได้
ปรั
บปรุ
งวงดนตรี
ให้
เจริ
ญก้
าวหน้
า และยั
งเป็
นผู้
วางรากฐานให้
แก่
วงดุ
ริ
ยางค์
ของกองทั
พอากาศ กองทั
พเรื
อ และ
กรมตำ
�รวจ ท่
านมี
ลู
กศิ
ษย์
ที่
เป็
นนั
กแต่
งเพลง นั
กร้
อง ที่
มี
ชื่
อเสี
ยง หลายคน เช่
น เอื้
อ สุ
นทรสนาน สง่
า อารั
มภี
ร สุ
รพล
แสงเอก ชลหมู่
ชลานุ
เคราะห์
เป็
นต้
สมั
ยรั
ตนโกสิ
นทร์