Page 221 - บูรพศิลปิน58

Basic HTML Version

206
บู
รพศิ
ลปิ
น พ.ศ. ๒๕๕๘
นายสนิ
ท ดิ
ษฐพั
นธุ์
ศิ
ลปิ
นแห่
งชาติ
สาขาทั
ศนศิ
ลป์
(จิ
ตรกรรม)
พุ
ทธศั
กราช ๒๕๓๒
เกิ
๑๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๕ ที่
กรุ
งเทพมหานคร
ถึ
งแก่
กรรม
๒๕ ตุ
ลาคม พ.ศ. ๒๕๕๒
ยุ
คสมั
รั
ตนโกสิ
นทร์
(รั
ชกาลที่
๖ - รั
ชกาลที่
๙)
ประวั
ติ
และการทำ
�งาน
นายสนิ
ท ดิ
ษฐพั
นธุ์
เป็
นบุ
ตรของนายเจริ
ญ และนางนอย ได้
เข้
าศึ
กษา
ศิ
ลปะในด้
านปฏิ
บั
ติ
และทฤษฎี
ที่
โรงเรี
ยนประณี
ตศิ
ลปกรรม ของ ศาสตราจารย์
ศิ
ลป์
พี
ระศรี
หลั
งจากที่
จบการศึ
กษาตามหลั
กสู
ตร ๔ ปี
ของโรงเรี
ยน
ประณี
ตศิ
ลปกรรมแล้
วได้
เข้
ารั
บราชการที่
กองหั
ตถศิ
ลป (เดิ
มแผนกหั
ตถศิ
ลป)
กรมศิ
ลปากร เมื่
อ พ.ศ. ๒๔๘๓ รั
บราชการในตำ
�แหน่
งผู้
ช่
วยช่
าง และลาออกจาก
ราชการ เมื่
ออายุ
๕๕ ปี
ขณะดำ
�รงตำ
�แหน่
งผู้
อำ
�นวยการกองหั
ตถศิ
ลป เพื่
อทำ
�งานศิ
ลปะอย่
างเดี
ยว ทำ
�งานศิ
ลปะ
โดยยึ
ดถื
อคติ
ที่
ว่
“เงิ
นเป็
นส่
วนประกอบของชี
วิ
ต งานศิ
ลปะเป็
นสิ่
งสำ
�คั
ญยิ่
ง เพราะสามารถบั
นดาลความสุ
ขสงบให้
ทั้
งกายและใจแก่
ผู้
สร้
างสรรค์
นายสนิ
ท ดิ
ษฐพั
นธุ์
ถึ
งแก่
กรรมเนื่
องจากเลื
อดออกในสมองแบบเฉี
ยบพลั
น เมื่
อวั
นที่
๒๕ ตุ
ลาคม พ.ศ. ๒๕๕๒
สิ
ริ
อายุ
๘๗ ปี
ผลงานสำ
�คั
เขี
ยนภาพจิ
ตรกรรมแบบประเพณี
ไว้
ที่
ช่
องคู
หาผนั
งพระอุ
โบสถวั
ดเบญจมบพิ
ตร ๓ คู
หา
จิ
ตรกรรมภาพสี
นํ้
ามั
นภาพเหมื
อนบุ
คคล มี
ตั้
งแต่
พระบรมสาทิ
สลั
กษณ์
พระบาทสมเด็
จพระปรมิ
นทรมหา
ภู
มิ
พลอดุ
ลยเดช จนถึ
งภาพคนธรรมดาสามั
จิ
ตรกรรมสี
พาสเทล ภาพเหมื
อนบุ
คคลสำ
�คั
ญและคนทั่
วไป
จิ
ตรกรรมสี
นํ้
า นั
บว่
าเป็
นหนึ่
งในผู้
บุ
กเบิ
ก วางพื้
นฐานการเขี
ยนสี
นํ้
าของไทย
จิ
ตรกรรมแบบประเพณี
ใหม่
นำ
�เอารู
ปแบบเรื่
องราวตามประเพณี
มาประยุ
กต์
ใช้
ในผลงาน เช่
น ภาพแข่
งเรื
เป็
นจิ
ตรกรรมสี
ฝุ่
นบนผ้
า นำ
�ไปแสดงในงานศิ
ลปกรรมแห่
งชาติ
และแสดงตามที่
ต่
างๆ ทั้
งในประเทศและ
ต่
างประเทศ เช่
น ที่
หอศิ
ลปะแห่
งชาติ
กรุ
งปั
กกิ่
ง ผลงานชิ้
นนี้
ถื
อว่
ามี
ความสำ
�คั
ญต่
อประวั
ติ
ศาสตร์
ศิ
ลปะ
สมั
ยใหม่
ของไทยมาก เพราะเป็
นผลงานยุ
คแรกและผลงานบุ
กเบิ
กแนวทางหนึ่
ผลงานการออกแบบ เช่
น ออกแบบตราไปรษณี
ย์
ในวาระสำ
�คั
ญๆ ออกแบบเครื่
องราชอิ
สริ
ยาภรณ์
“ราชมิ
ตราภรณ์
ออกแบบดวงตราประจำ
�จั
งหวั
ดต่
างๆ ออกแบบเหรี
ยญรั
ชดาภิ
เษกพระบาทสมเด็
จพระ
ปรมิ
นทรมหาภู
มิ
พลอดุ
ลยเดช ออกแบบธนบั
ตรไทยราคา ๕, ๑๐, ๒๐ บาท รุ่
นแรก เป็
นต้
ได้
รั
บรางวั
ลเหรี
ยญเงิ
น (จิ
ตรกรรม) งานแสดงศิ
ลปกรรมแห่
งชาติ
ครั้
งที่
๑ พ.ศ. ๒๔๙๒, ครั้
งที่
๒ พ.ศ.
๒๔๙๓ และครั้
งที่
๔ พ.ศ. ๒๔๙๖
๔๕
สมั
ยรั
ตนโกสิ
นทร์