Page 198 - บูรพศิลปิน58

Basic HTML Version

183
บู
รพศิ
ลปิ
น พ.ศ. ๒๕๕๘
นายไพบู
ลย์
สุ
วรรณกู
เกิ
๑ ตุ
ลาคม พ.ศ. ๒๔๖๘ ที่
จั
งหวั
ดอุ
บลราชธานี
ถึ
งแก่
กรรม
๒๐ ตุ
ลาคม พ.ศ. ๒๕๒๕
ยุ
คสมั
รั
ตนโกสิ
นทร์
(รั
ชกาลที่
๖ - รั
ชกาลที่
๙)
ประวั
ติ
และการทำ
�งาน
ตระกู
“สุ
วรรณกู
ฏ”
สื
บเชื้
อสายมาจากพระวอ พระตา และท้
าวคำ
�ผง ผู้
สร้
างเมื
องอุ
บล และรั
บราชการ
ต่
อกั
นมา นายไพบู
ลย์
สุ
วรรณกู
ฎ ที่
ต่
อมาภายหลั
งเรี
ยกกั
นว่
“กู
ฏ”
หรื
“ท่
านกู
ฎ”
เป็
น บุ
ตรของนายมากและ
นางดวง (สกุ
ลเดิ
ม ส่
งศรี
) ซึ่
งเป็
นศิ
ลปิ
นพื้
นบ้
าน บิ
ดาเป็
นช่
างทองชื่
อดั
งของเมื
องอุ
บล มารดาเป็
นช่
างทอผ้
าไหมมั
ดหมี่
นายไพบู
ลย์
จึ
งมี
สายเลื
อดศิ
ลปิ
นมาแต่
กำ
�เนิ
ด บิ
ดาถึ
งแก่
กรรมเมื่
อนายไพบู
ลย์
อายุ
เพี
ยง ๓ ปี
เศษ ทำ
�ให้
มารดาต้
องพา
ไปฝากให้
อยู่
ในความดู
แลของอาเขย (ขุ
นพรหมประศาสน์
) และลุ
ง (หลวงประชากรเกษม) เรี
ยนหนั
งสื
อวิ
ชาสามั
ญจาก
โรงเรี
ยนหลายแห่
งในภาคอี
สาน เนื่
องจากต้
องย้
ายตามลุ
ง (หลวงประชากรเกษม) ได้
แก่
โรงเรี
ยนประชานุ
กู
ล จั
งหวั
ศรี
สะเกษ โรงเรี
ยนมิ
ชชั
นนารี
เซเว่
นเดย์
แอดเวนตี
ส โรงเรี
ยนเบ็
ญจมะมหาราช จั
งหวั
ดอุ
บลราชธานี
ตามลำ
�ดั
บ แล้
ย้
ายไปอยู่
กั
บอา (ขุ
นพรหมประศาสน์
) ศึ
กษาจบชั้
นมั
ธยมปี
ที่
๖ ที่
โรงเรี
ยนเบ็
ญจมะมหาราช อี
กครั้
งหนึ่
ง และศึ
กษา
ต่
อที่
โรงเรี
ยนเพาะช่
าง แล้
วมาเรี
ยนที่
คณะจิ
ตรกรรมและประติ
มากรรม เป็
นนั
กศึ
กษารุ่
นที่
๒ ของคณะ เรี
ยนอยู
ใน
มหาวิ
ทยาลั
ยถึ
ง ๙ ปี
ขณะเรี
ยนได้
ชื่
อว่
าเป็
นนั
กศึ
กษาศิ
ลปากรคนแรก ที่
ทำ
�ตนเป็
นศิ
ลปิ
นอย่
างเต็
มตั
วโดยไม่
เอาใจใส่
ต่
โลกภายนอก นายไพบู
ลย์
สร้
างชื่
อเสี
ยงและมี
ผลงานทางศิ
ลปะที่
โดดเด่
น ตั้
งแต่
ยั
งเรี
ยนหนั
งสื
อ ภาพ
“ลุ
งสาย”
ภารโรง
ของมหาวิ
ทยาลั
ย เป็
นภาพพอทเตรท เขี
ยนด้
วยสี
ฝุ่
น ได้
คะแนนเต็
ม และยั
งได้
แสดงฝี
มื
อการเขี
ยนเรื่
องสั้
“ส้
มป่
อย
ดอกเหลื
อง”
และ
“เขี้
ยวหมู
ป่
า” “นายแผ่
นดิ
นดอน”
เป็
นความสามารถอี
กทางหนึ่
ง ได้
รั
บอนุ
ปริ
ญญาศิ
ลปบั
ณฑิ
ในขณะเรี
ยนมี
ความใฝ่
ฝั
นจะเป็
นประติ
มากร แต่
ศาสตราจารย์
ศิ
ลป์
พี
ระศรี
ฝากความหวั
งและอนาคตของศิ
ลปกรรมไทย
โดยให้
นายไพบู
ลย์
สุ
วรรณกู
ฏ เป็
นผู้
บุ
กเบิ
กด้
านจิ
ตรกรรมฝาผนั
ง ทำ
�ให้
ท่
านต้
องไปศึ
กษาสำ
�รวจโบราณสถาน โบราณ
วั
ตถุ
ทั่
วประเทศ และศึ
กษาศิ
ลปะพื้
นบ้
านเพิ่
มเติ
มกั
บนายโพธิ์
ส่
งศรี
ผู้
เป็
นลุ
ง (น้
องชายหลวงประชากรเกษม) ซึ่
งเป็
ศิ
ษย์
เอกของพระครู
วิ
โรจน์
รั
ตโนบล เจ้
าอาวาสวั
ดทุ่
งศรี
เมื
อง จั
งหวั
ดอุ
บลราชธานี
ทำ
�ให้
นายไพบู
ลย์
เบนชี
วิ
ตมาทาง
ศิ
ลปะโดยตรง และเป็
นผู้
ที่
ผสมผสานศิ
ลปะชาติ
กั
บศิ
ลปะพื้
นถิ่
นได้
อย่
างกลมกลื
เข้
าทำ
�งานเป็
นครู
ที
โรงเรี
ยนศิ
ริ
ศาสตร์
๒ ปี
จากนั้
นประกอบอาชี
พเป็
นศิ
ลปิ
นอิ
สระ ชี
วิ
ตศิ
ลปิ
นของนายไพบู
ลย์
บางครั้
งต้
องอดอยากปากแห้
ง และต้
องอยู
กั
นคนละแห่
งกั
บครอบครั
วเพื่
อหาเลี้
ยงภรรยาและบุ
ตรธิ
ดา ถึ
ง ๗ คน
นั
บได้
ว่
านายไพบู
ลย์
ผ่
านงานสารพั
ดอย่
าง ทั้
งศิ
ลปิ
นเขี
ยนภาพ ทำ
�หนั
งสื
อพิ
มพ์
เป็
นกวี
นั
กประพั
นธ์
เขี
ยนเรื่
องสั้
น ระยะหลั
ต่
อมาจึ
งมี
เงิ
นทองใช้
จ่
ายสะดวกมากขึ้
น บั้
นปลายชี
วิ
ตป่
วยด้
วยโรคไต ขณะรั
กษาตั
วเป็
นคนไข้
ในพระบรมราชานุ
เคราะห์
จนถึ
งแก่
กรรมด้
วยโรคไตพิ
การ สิ
ริ
อายุ
๕๗ ปี
เศษ
๓๕
สมั
ยรั
ตนโกสิ
นทร์