Page 174 - บูรพศิลปิน58

Basic HTML Version

159
บู
รพศิ
ลปิ
น พ.ศ. ๒๕๕๘
ศาสตราจารย์
พิ
เศษเฉลิ
ม นาคี
รั
กษ์
ศิ
ลปิ
นแห่
งชาติ
สาขาทั
ศนศิ
ลป์
(จิ
ตรกรรม)
พุ
ทธศั
กราช ๒๕๓๑
เกิ
๒๑ กั
นยายน พ.ศ. ๒๔๖๐ ที่
จั
งหวั
ดอุ
บลราชธานี
ถึ
งแก่
กรรม
๒ ธั
นวาคม พ.ศ. ๒๕๔๕
ยุ
คสมั
รั
ตนโกสิ
นทร์
(รั
ชกาลที่
๖ - รั
ชกาลที่
๙)
ประวั
ติ
และการทำ
�งาน
ศาสตราจารย์
พิ
เศษเฉลิ
ม นาคี
รั
กษ์
เป็
นบุ
ตรของนายแดง และ
นางคํ่
า บิ
ดาเป็
นเสมี
ยน มารดาทำ
�นา ใช้
ชี
วิ
ตในชนบทและธรรมชาติ
มี
ความสนใจ
ในการเขี
ยนภาพมาตั้
งแต่
เด็
การศึ
กษา เรี
ยนจบระดั
บประถมศึ
กษาและมั
ธยมศึ
กษาที่
จั
งหวั
อุ
บลราชธานี
ได้
รั
บความรู้
ด้
านศิ
ลปะจากครู
คง ซึ่
งจบมาจากโรงเรี
ยนเพาะช่
าง
ท่
านได้
เดิ
นทางเข้
ากรุ
งเทพฯ เพื่
อเรี
ยนต่
อที่
โรงเรี
ยนเพาะช่
าง เมื่
อ พ.ศ.
๒๔๗๗ เรี
ยนจบหลั
กสู
ตร ๔ ปี
เรี
ยนวิ
ชาครู
ประถมต่
ออี
ก ๑ ปี
ที่
ฝึ
กหั
ดครู
ประถมพระนคร เคยได้
รั
บเข้
าอบรมวิ
ชา
ทฤษฎี
ศิ
ลปะกั
บศาสตราจารย์
ศิ
ลป์
พี
ระศรี
ที่
มหาวิ
ทยาลั
ยศิ
ลปากร เป็
นเวลา ๖ เดื
อน ด้
านศิ
ลปะไทย ศึ
กษากั
พระเทวาภิ
นิ
มมิ
ต (ฉาย เที
ยมสิ
นไชย) นอกจากนี้
ยั
งศึ
กษาวิ
ชาเครื่
องไม้
วิ
ชาจั
กสาน วิ
ชาเครื่
องดิ
น และมี
โอกาสไป
ศึ
กษาดู
งานศิ
ลปหั
ตถกรรมที่
ประเทศญี่
ปุ่
น การที่
ท่
านได้
รั
บการศึ
กษาและมี
ประสบการณ์
อย่
างกว้
างขวางนี้
เอง ทำ
�ให้
ท่
านสามารถสร้
างสรรค์
ผลงานศิ
ลปะได้
หลายแบบและหลายเทคนิ
การทำ
�งาน ได้
เข้
ารั
บราชการเป็
นครู
สอนศิ
ลปะที่
โรงเรี
ยนเพาะช่
าง เมื
อ พ.ศ. ๒๔๘๓ ทำ
�งานก้
าวหน้
าใน
หน้
าที่
ราชการมาโดยลำ
�ดั
บ ได้
รั
บตำ
�แหน่
งผู้
อำ
�นวยการชั้
นพิ
เศษ วิ
ทยาลั
ยเพาะช่
าง, คณบดี
คณะศิ
ลปกรรม วิ
ทยาเขต
เพาะช่
าง และเกษี
ยณอายุ
ราชการ เมื่
อ พ.ศ. ๒๕๒๐ หลั
งเกษี
ยณราชการได้
รั
บแต่
งตั้
งเป็
น ศาสตราจารย์
พิ
เศษ
คณะศิ
ลปกรรม วิ
ทยาเขตเพาะช่
าง
เริ่
มงานด้
านศิ
ลปะอย่
างจริ
งจั
ง ทำ
�งานศิ
ลปะทั้
ง ๒ แบบ คื
อ แบบสากลซึ่
งเป็
นแบบสมั
ยใหม่
และแบบประเพณี
ประยุ
กต์
ท่
านใช้
เทคนิ
คและวั
สดุ
เขี
ยนด้
วยสี
นํ้
า สี
นํ้
ามั
น และสี
พลาสติ
ก เรื่
องที่
เขี
ยน ได้
แก่
ดอกไม้
หุ่
นนิ่
ง ทิ
วทั
ศน์
ภาพคน ส่
วนแบบประเพณี
วั
ฒนธรรมไทย เขี
ยนในแบบประยุ
กต์
เขี
ยนด้
วยสี
นํ้
าและสี
นํ้
ามั
น ในด้
านสี
นํ้
าเขี
ยนได้
ดี
เป็
พิ
เศษ จนได้
รั
บคำ
�ชมเชยจาก ศาสตราจารย์
ศิ
ลป์
พี
ระศรี
ท่
านได้
รั
บฉายาว่
“ราชาสี
นํ้
า”
ผลงานของท่
านเป็
นที่
นิ
ยม
ของผู้
สะสมศิ
ลปะทั้
งในและต่
างประเทศ
“ราชาสี
นํ้
า”
ได้
มาจากการที่
สามารถบั
งคั
บพู่
กั
นและสี
นํ้
าให้
เป็
นไปตามใจนึ
ได้
รวดเร็
วฉั
บไว เป็
นที่
นิ
ยมของผู้
สะสมศิ
ลปะทั้
งชาวไทยและชาวต่
างชาติ
และเป็
นการเขี
ยนภาพที่
ดี
ที
สุ
ดของท่
าน ส่
วน
สี
นํ้
ามั
น เกิ
ดเอกลั
กษณ์
เฉพาะตั
วของท่
านคื
อ ภาพทิ
วทั
ศน์
ท่
านเขี
ยนด้
วย เกรี
ยง ส่
วนภาพคน เขี
ยนด้
วยพู่
กั
น ท่
านมี
หลั
กการในการเขี
ยนภาพ คื
อ อุ
ดมคติ
องค์
ประกอบ การจั
ดสี
ภาพคน บรรยากาศ ควรทำ
�อย่
างไร
ศาสตราจารย์
พิ
เศษเฉลิ
ม นาคี
รั
กษ์
ถึ
งแก่
กรรมด้
วยภาวะติ
ดเชื้
อในกระแสโลหิ
ต เมื่
อวั
นที่
๒ ธั
นวาคม พ.ศ.
๒๕๔๕ สิ
ริ
อายุ
๘๕ ปี
๒๔
สมั
ยรั
ตนโกสิ
นทร์