Page 153 - บูรพศิลปิน58

Basic HTML Version

138
บู
รพศิ
ลปิ
น พ.ศ. ๒๕๕๘
พระพรหมพิ
จิ
ตร (อู๋
ลาภานนท์
)
เกิ
๒๗ กั
นยายน พ.ศ. ๒๔๓๓
ถึ
งแก่
กรรม
๑๕ กุ
มภาพั
นธ์
๒๕๐๘
ยุ
คสมั
รั
ตนโกสิ
นทร์
(รั
ชกาลที่
๕ - รั
ชกาลที่
๙)
ประวั
ติ
และการทำ
�งาน
พระพรหมพิ
จิ
ตร นามเดิ
มว่
า อู๋
ลาภานนท์
เข้
าศึ
กษาที่
โรงเรี
ยนมหาพฤฒารามเมื่
อ พ.ศ. ๒๔๔๓ ต่
อมาเมื่
พ.ศ. ๒๔๔๗ ได้
เข้
าเป็
นนั
กเรี
ยนช่
างเขี
ยนในกรมโยธา กระทรวงโยธาธิ
การ
เมื่
ออายุ
๑๘ ปี
ได้
เข้
ารั
บราชการในตำ
�แหน่
งช่
างเขี
ยน ในกรมโยธาธิ
การ ต่
อมาใน พ.ศ. ๒๔๕๔ กรมโยธาธิ
การ
ได้
ปรั
บเปลี่
ยนเป็
นกรมศิ
ลปากร และใน พ.ศ. ๒๔๖๘ ได้
ย้
ายไปรั
บราชการกรมรองงาน กระทรวงวั
ง ภายหลั
งใน
พ.ศ. ๒๔๖๙ ได้
โอนไปรั
บราชการที่
ราชบั
ณฑิ
ตยสภา ครั้
นใน พ.ศ. ๒๔๗๖ ราชบั
ณฑิ
ตยสภายุ
บรวมกั
บกรมศิ
ลปากร
จึ
งย้
ายมาสั
งกั
ดกรมศิ
ลปากร จนเกษี
ยณอายุ
ราชการใน พ.ศ. ๒๔๙๙
ในช่
วงรั
บราชการ พระพรหมพิ
จิ
ตรได้
ดำ
�รงตำ
�แหน่
งทางฝ่
ายช่
างมาโดยตลอด และได้
รั
บพระราชทาน
บรรดาศั
กดิ์
เลื่
อนขั้
นโดยลำ
�ดั
บ คื
อ ใน พ.ศ. ๒๔๕๖ เป็
นขุ
นบรรจงเลขา ต่
อมา พ.ศ. ๒๔๖๓ ได้
เลื่
อนเป็
นหลวงสมิ
ทธิ
เลขา และ พ.ศ. ๒๔๗๑ ได้
รั
บพระราชทานบรรดาศั
กดิ์
เป็
นพระพรหมพิ
จิ
ตร
พระพรหมพิ
จิ
ตรได้
ถวายตั
วเป็
นศิ
ษย์
สมเด็
จพระเจ้
าบรมวงศ์
เธอ เจ้
าฟ้
ากรมพระยานริ
ศรานุ
วั
ดติ
วงศ์
นายช่
าง
ใหญ่
แห่
งกรุ
งรั
ตนโกสิ
นทร์
ผู้
ซึ่
งบรรดาศิ
ษย์
เรี
ยกว่
“สมเด็
จครู
โดยได้
ช่
วยลอกแบบ เขี
ยนแบบขยาย รวมทั้
งควบคุ
การก่
อสร้
างงานที่
สมเด็
จครู
ทรงออกแบบไว้
นั
บได้
ว่
าพระพรหมพิ
จิ
ตรเป็
นศิ
ษย์
ผู้
ใกล้
ชิ
ดสมเด็
จครู
ได้
เรี
ยนรู้
และได้
รั
การถ่
ายทอดวิ
ชาความรู้
ด้
านศิ
ลปะสถาปั
ตยกรรมด้
วยการลงมื
อปฏิ
บั
ติ
จริ
ง ส่
งผลให้
พระพรหมพิ
จิ
ตรมี
ความรู้
และความ
เชี่
ยวชาญด้
านสถาปั
ตยกรรมไทยอย่
างเอกอุ
นอกจากนี้
พระพรหมพิ
จิ
ตรยั
งเป็
นอาจารย์
พิ
เศษในวิ
ชาสถาปั
ตยกรรมไทยที่
จุ
ฬาลงกรณ์
มหาวิ
ทยาลั
ย และ
มหาวิ
ทยาลั
ยศิ
ลปากร อี
กทั้
งยั
งได้
ดำ
�รงตำ
�แหน่
งคณบดี
คณะสถาปั
ตยกรรมไทย มหาวิ
ทยาลั
ยศิ
ลปากรคนแรก ระหว่
าง
พ.ศ. ๒๔๙๘ - ๒๕๐๑ อี
กด้
วย (พ.ศ. ๒๕๐๒ ขยายหลั
กสู
ตรการศึ
กษา และเปลี่
ยนชื่
อเป็
นสถาปั
ตยกรรมศาสตร์
เมื่
พ.ศ. ๒๕๐๙)
พรพรหมพิ
จิ
ตร ถึ
งแก่
กรรมด้
วยโรคหั
วใจพิ
การ เมื่
อวั
นที่
๑๕ กุ
มภาพั
นธ์
พ.ศ. ๒๕๐๘ สิ
ริ
อายุ
ได้
๗๕ ปี
ผลงานสำ
�คั
งานออกแบบก่
อสร้
างจำ
�นวนมาก เช่
น ศาลาการเปรี
ยญหอระฆั
ง ซุ้
มประตู
ของวั
ดต่
างๆ อาทิ
ศาลาโรงธรรม
วั
ดพระพุ
ทธบาท จั
งหวั
ดสระบุ
รี
ก่
อสร้
างและวางผั
งวั
ดพระศรี
มหาธาตุ
บางเขน กรุ
งเทพมหานคร ศาลาการเปรี
ยญ เมรุ
หอระฆั
ซุ้
มประตู
วั
ดจั
กรวรรดิ
ราชาวาส กรุ
งเทพมหานคร ศาลาการเปรี
ยญ และรั้
วด้
านหน้
า วั
ดปทุ
มคงคา
กรุ
งเทพมหานคร ศาลาการเปรี
ยญ และเมรุ
วั
ดไตรมิ
ตรวิ
ทยาราม กรุ
งเทพมหานคร ศาลาการเปรี
ยญ
วั
ดอิ
นทรวิ
หาร บางขุ
นพรหม กรุ
งเทพมหานคร หอระฆั
ง วั
ดยานนาวา กรุ
งเทพฯ พระอุ
โบสถ ศาลา
การเปรี
ยญ และรั้
วกั้
นเขตสั
งฆาวาส วั
ดพระปฐมเจดี
ย์
จั
งหวั
ดนครปฐม
๑๒
สมั
ยรั
ตนโกสิ
นทร์