Page 149 - บูรพศิลปิน58

Basic HTML Version

134
บู
รพศิ
ลปิ
น พ.ศ. ๒๕๕๘
ขรั
วอิ
นโข่
เกิ
ไม่
ปรากฏหลั
กฐาน
มรณภาพ
ไม่
ปรากฏหลั
กฐาน
ยุ
คสมั
รั
ตนโกสิ
นทร์
ประวั
ติ
และการทำ
�งาน
ขรั
วอิ
นโข่
ง เดิ
มชื่
“อิ
น”
เป็
นศิ
ลปิ
นที่
มี
ชื่
อเสี
ยงในรั
ชกาลพระบาทสมเด็
จพระจอมเกล้
าเจ้
าอยู่
หั
ว เป็
นชาว
บ้
านบางจาน จั
งหวั
ดเพชรบุ
รี
อั
นเป็
นถิ่
นกำ
�เนิ
ดของศิ
ลปิ
นชั้
นครู
หลายคน ประวั
ติ
ของท่
านไม่
ชั
ดเจนและไม่
มี
หลั
กฐาน
ปรากฏ ขรั
วอิ
นโข่
งเป็
นจิ
ตรกรที่
ถื
อเพศบรรพชิ
ตตลอดชี
วิ
ต บวชเป็
นภิ
กษุ
ที่
วั
ดราชบุ
รณะ (วั
ดเลี
ยบ) กรุ
งเทพฯ
ขรั
วอิ
นโข่
ง น่
าจะเป็
นชื่
อที่
ใช้
เรี
ยกในหมู่
ประชาชนทั่
วไปในสมั
ยนั้
น ส่
วนนามที
เป็
นทางการเรี
ยกว่
“พระอาจารย์
อิ
น”
อุ
ปนิ
สั
ยของท่
านเป็
นคนรั
กสั
นโดษ ไม่
ชอบรั
บแขก ชอบอยู่
คนเดี
ยวภายในกุ
ฎิ
ในระหว่
างที่
อยู่
คน
เดี
ยวนั้
นก็
จะใช้
สมาธิ
นึ
กแบบร่
างสำ
�หรั
บเขี
ยนที่
ผนั
งพระอุ
โบสถหรื
ออาคารอื่
นๆ
ขรั
วอิ
นโข่
ง เป็
นจิ
ตรกรที่
ใกล้
ชิ
ดเบื
องพระยุ
คลบาทและมี
ฝี
มื
อเป็
นที่
พอพระราชหฤทั
ยของพระบาทสมเด็
พระจอมเกล้
าเจ้
าอยู่
หั
วเป็
นอย่
างมาก ผลงานในระยะเริ่
มแรกได้
ยึ
ดถื
อเนื้
อหาและรู
ปแบบเดิ
มตามลั
กษณะจิ
ตรกรรม
ไทย เช่
น วาดภาพที่
เกี่
ยวกั
บชาดก และเรื่
องราวเกี่
ยวกั
บพระพุ
ทธศาสนา อาทิ
ภาพวาดที่
หอราชกรมานุ
สร ภาพวาดที่
วั
ดมหาสมณาราม ฯลฯ ต่
อมาจึ
งเขี
ยนภาพปริ
ศนาธรรม และได้
มี
การพั
ฒนาแนวคิ
ดออกจากลั
ษณะเดิ
ม โดยใช้
ตั
วละคร
และสถานที่
เป็
นแบบตะวั
นตก มี
ลั
กษณะภาพเป็
นสามมิ
ติ
ซึ่
งถื
อเป็
นภาพที่
มี
ความลึ
ก นั
บเป็
นคนแรกที่
นำ
�เอาทั
ศนวิ
สั
แบบนี้
มาใช้
การใช้
สี
ก็
ไม่
ฉู
ดฉาด ภาพมี
ความกลมกลื
นและลอยเด่
นขึ้
นมาเหมื
อนภาพในความฝั
นท่
ามกลางความสลั
ของสี
เทาและดำ
�เข้
ส่
วนด้
านเนื
อหา ได้
สะท้
อนให้
เห็
นถึ
งสั
งคมในสมั
ยนั้
นได้
ชั
ดเจน ภาพแบบไทยในระยะแรกแสดงให้
เห็
นสภาพ
ชี
วิ
ตของชาวชนบท รวมถึ
งศาสนกิ
จที่
พุ
ทธศาสนิ
กชนพึ
งกระทำ
� เช่
น ภาพวาดภายในพระอุ
โบสถวั
ดมหาสมณาราม
จั
งหวั
ดเพชรบุ
รี
กล่
าวถึ
งการไปนมั
สการพระพุ
ทธบาท แสดงบรรยากาศชั
ดเจน ส่
วนภาพในหอราชกรมานุ
สร เป็
นภาพ
ไฟไหม้
ปราสาทราชวั
งของกรุ
งศรี
อยุ
ธยา แสดงความล่
มจ่
มของอาณาจั
กรที่
รุ่
งเรื
องในอดี
ภาพปริ
ศนาธรรมที่
วั
ดบวรนิ
เวศและวั
ดบรมนิ
วาส ได้
บั
นทึ
กเหตุ
การณ์
ในสมั
ยรั
ชกาลที
๔ ได้
เป็
นอย่
างดี
ทั้
งการเมื
อง การต่
างประเทศ และสภาพสั
งคมสมั
ยนั้
นที่
ประเทศไทยกำ
�ลั
งตื่
นตั
วและเปิ
ดประเทศติ
ดต่
อกั
บชาวตะวั
นตก
โดยเฉพาะประเทศสหรั
ฐอเมริ
กา ได้
ส่
งมิ
ชชั
นนารี
เข้
ามาเผยแพร่
ศาสนาและได้
นำ
�วิ
ทยาการใหม่
ๆ เข้
ามาด้
วย
ภาพปริ
ศนาธรรมนี้
นั
บเป็
นจิ
นตนาการที่
น่
าทึ่
งมาก เพราะขรั
วอิ
นโข่
งไม่
เคยเดิ
นทางไปต่
างประเทศเลย แต่
สามารถ
สร้
างจิ
นตนาการขึ้
นมาได้
คื
อ จากการได้
เห็
นวิ
ถี
ชี
วิ
ตประจำ
�วั
นของฝรั่
งที่
เข้
ามาในประเทศไทย อาทิ
ขี่
ม้
า เดิ
นเล่
พั
กผ่
อนและการสั
งสรรค์
และยั
งได้
เห็
นสภาพบ้
านเมื
องจากภาพพิ
มพ์
ที่
พวกมิ
ชชั
นนารี
เข้
ามาเผยแพร่
ซึ่
งเป็
นเรื่
องที่
แปลก
ดั
งที
สมเด็
จฯ กรมพระยาดำ
�รงราชานุ
ภาพ ทรงสั
นนิ
ษฐานว่
า ขรั
วอิ
นโข่
งน่
าจะเห็
นจากรู
ปภาพแล้
วมาจิ
นตนาการได้
เช่
นกั
ขรั
วอิ
นโข่
ง เป็
นจิ
ตรกรที่
มี
ชื่
อเสี
ยงและมี
ฝี
มื
อสู
งมากผู้
หนึ่
งของกรุ
งรั
ตนโกสิ
นทร์
ผลงานของท่
านนั
บเป็
นมรดก
ทางศิ
ลปกรรมที่
ลํ้
าค่
า และเป็
นผู้
ที่
นำ
�จิ
นตนาการใหม่
เข้
ามาใช้
ในงานจิ
ตรกรรมไทย เช่
น การใช้
สี
การวางภาพและการ
เชื่
อมภาพที่
มี
มิ
ติ
ความลึ
กได้
อย่
างเหมาะสม อั
นเป็
นแนวทางให้
ศิ
ลปิ
นรุ่
นหลั
งได้
แบบอย่
างสื
บมา
สมั
ยรั
ตนโกสิ
นทร์